Page 355 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 355

โครงการ7บริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559     12-7

      ราชธวัช (Bendera) และพระกลด (Payang Ubor – Ubor) หมายถึง สมเด็จพระราชาธิบดี
แหงบรูไนดารสุ ซาลาม (ของทงั้ สองสิ่งนี้นบั เปนเครอ่ื งราชกุชภัณฑตามคตบิ รไู น) ปก นก 4 ขน (Sayap)
หมายถึง การพิทักษความยุติธรรม ความสงบ ความเจริญ และสันติสุขของชาติ มือสองขางท่ีชูข้ึน
(Tangan หรือ Kimhap) หมายถึง หนาท่ีของรัฐบาลท่ีจะยกระดับความม่ังค่ัง สันติสุข และความ
วฒั นาถาวรใหเ จริญรุงเรืองสบื ไป และซกี วงเดือนหงาย (Bulan) หมายถึง ศาสนาอสิ ลามซึ่งเปนศาสนา
ประจําชาติ

      1.4 ประชากร
      ประเทศบรูไนมจี าํ นวนประชากรเม่ือป ค.ศ. 2015 จาํ นวน 415,717 คน เปนเชือ้ สายมาเลย
67% จีน 15%ชนเผาพ้ืนเมือง 6% และอ่ืนๆ อีกประมาณ 12 % อตั ราการเติบโตของประชากรอยูที่
1.712 % (พ.ศ. 2554 หรอื ค.ศ. 2011) มคี วามหนาแนนของประชากรประมาณ 65 คน ตอ ตาราง
กิโลเมตรหรือ 168 คนตอตารางไมล ชนพ้ืนเมืองในประเทศบรูไนประกอบดวยชน 7 เผาคือ ชนชาว
มลายูบรูไน ซ่ึงเปนชนกลุมใหญท ี่สุด ชนชาวดูซุน (Dusun) ซึ่งเปนกลุมชนท่ีใหญท ี่สดุ ในรัฐซาบาหและ
สว นใหญนบั ถือศาสนาครสิ ต ถือเปน กลมุ ที่มีวัฒนธรรมและภาษาหลากหลาย ชนชาวบเี ลท (Belait) ซงึ่
สวนใหญตัง้ ถ่ินฐานอยูในเขตบีเลท นบั ถอื ศาสนาอสิ ลามอยางเครงครัด มภี าษาของตนเองคือภาษาบีเลท
เปนหน่ึงในกลุมตระกูลภาษามลาโย – โพลีนีเซียน (ซ่ึงแทบจะไมมีใครใชในปจจุบัน) ชนชาวตูตอง
(Tutong) เปน ชาวพ้นื เมอื งดัง้ เดิมของประเทศเช่ือกันวาอาศัยอยใู นบรูไนมาหลายรอยป และมภี าษาของ
ตนเองคือภาษาตูตองแตสามารถพูดภาษามลายูได เดิมชาวตูตองดํารงชีพดวยการทําประมงและคาขาย
เช่ือเร่ืองจิตวิญญาณในธรรมชาติ แตบางสวนก็เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม ชนชาวบีซายา (Bisaya)
เปนชนเผา พืน้ เมืองอาศัยอยทู างชายฝง ทะเลตะวนั ตกของเกาะบอรเ นยี ว เปน ชนกลุม แรกที่ศาสนาอิสลาม
เขามาในคริสตศตวรรษที่ 13 ปจจุบันชาวบีซายาอาศัยอยูทางตะวันตกของรัฐซาบาห ประเทศสหพันธ
รัฐมาเลเซีย ตามเขตชายฝงทางตอนเหนือของอาวบรูไน และตามแนวแมนํ้าทางตอนเหนือของรัฐซารา
วัก ท่ีไหลลงสูอาวบรูไน วัฒนธรรมและภาษาของชาวบีซายาคลายกับชาวดูชุน มีภาษาของตนเองคือ
ภาษาบิซายา ซ่ึงเปนสวนหน่ึงของตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน หมูบานชาวบิซายาตั้งอยูริมแมนํ้า ชน
ชาวมรู ุต (Murut) เปนชนเผา พนื้ เมอื งทีป่ ระกอบไปดว ยกลุมชาติพันธยุ อยๆ อกี 29 กลมุ อาศยั อยูท าง
ตอนเหนือของเกาะบอรเนียว สวนใหญอยูลึกเขาไปทางตะวันตกเฉียงใตของรัฐซาบาห และพบอยูตาม
ชายแดนรัฐซาราวัก และบรูไน มีภาษาของตนเองเรียกวา ภาษามูรูติก ซ่ึงเปนกลุมภาษายอยของ
ตระกลู ภาษาออสโตรนีเซยี น ในอดตี เคยมีประเพณลี าหัวมนุษย ปจ จบุ ันชาวมูรุตจาํ นวนมากเขา รีตนับถือ
ศาสนาคริสตมีเพียงสวนนอยท่ีนับถือศาสนาอิสลามและชนชาวเกอดายัน (Kedayan) ซึ่งเปนลูกผสม
ระหวางชาวชวากับชาวมลายแู ละบางสว นยังอาศัยอยูตามชายฝง ตอนเหนือของรฐั ซาราวกั ซาบาห และ
ทางตะวันตกเฉยี งใตข องประเทศสหพันธรัฐมาเลเซยี
   350   351   352   353   354   355   356   357   358   359   360