Page 361 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 361

โครงการบ1ร3ิการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559     12-13

สํารวจเมืองซีเรยี (Seria) ในป ค.ศ. 1932 หลังจากท่ีเคยทําการสํารวจและพบบอ นํ้ามันแหงแรกที่เมือง
เอเยอร เบอกุนจี (Ayer Berkunchi) เม่ือ ค.ศ. 1899 แตปริมาณน้ํามันท่ีพบไมมากพอท่ีจะทํา
อุตสาหกรรมน้ํามันไดเ ม่ือป ค.ศ. 1925 จึงไดยายฐานการขุดเจาะนํ้ามันไปยังเมอื งซีเรีย และบริษัท บริตชิ
มลายันปโตรเลียมจํากัด (British Malayan Petroleum Company Limited) ไดขุดพบน้ํามันที่มี
ปรมิ าณมากพอท่จี ะทาํ เชิงพาณิชยไดในป ค.ศ. 1929 ปจจบุ นั เมอื งซีเรียเปน เมอื งสําคญั ของอุตสาหกรรม
นํ้ามันซ่ึงนํ้ามันในเมืองซีเรียเปนน้ํามันบนฝงท่ีมีการขุดเจาะมากถึง 48 บอในชวงระหวางป ค.ศ. 1914-
1960 ตอมาเมื่อเทคโนโลยีการขุดเจาะน้ํามันพัฒนาข้ึนบรูไนก็เริ่มขยายฐานการขุดเจาะนํ้ามันไปยังนอก
ชายฝงบริเวณอัมเปอตะวันตกที่อยูหางจากเขตบีเลทประมาณ 13 กิโลเมตรและไดพบน้ํามันดิบเพิ่มขึ้น
ตลอดจนพบกาซธรรมชาติ

      ปจจุบันบรูไนมีปริมาณการผลิตน้ํามันประมาณวันละ 200,000 บาเรลเปนอันดับ 4 ของ
อาเซียนรองลงมาจากอินโดนีเซีย เวียดนาม และมาเลเซียและผลติ กาซธรรมชาติไดประมาณวันละ 1.2
ลานลูกบาศกฟุตเปนอันดับ 4 ของโลก บรูไนสงออกนํ้ามันและกาซธรรมชาติมากกวา รอยละ 90 ของ
สินคาทั้งหมด โดยสงไปยังประเทศในกลุมอาเซียน รวมทั้งนอกกลุม เชน ญ่ีปุน เกาหลีใต และ
สหรัฐอเมริกา แตบรูไนตระหนักดีวาทรัพยากรธรรมชาติน้ันมีทางหมดไปจึงพยายามพัฒนาประเทศดวย
โครงสรางทางเศรษฺกิจหลากหลายมากข้ึน นอกเหนือจากอุตสาหกรรมน้ํามันบรูไนยังมีอุตสาหกรรมอัน
เปนการผลิตอาหารและเคร่ืองมือเคร่ืองใช การผลิตเสื้อผา เพื่อสงออกไปกลุมประเทศในยุโรป และ
สหรัฐอเมริกาทั้งนี้รัฐบาลบรูไนมุงท่ีจะพัฒนาอุตสาหกรรมดานการแปรรูปอาหารและผลิตเครื่องด่ืม
เสื้อผา ส่ิงทอ เคร่ืองเรือนจากไม วัสดุกอสรางที่ไมใชโลหะ การผลิตแกวเพ่ือใชทํากระจกรถยนต โดย
รฐั บาลไดเปดตัวโครงการตราฮาลาลบรูไน (Brunei Premium Halal Brand) ภายใตความรว มมือกับ
ภาคเอกชนออสเตรเลีย เพือ่ ยกระดับมาตรฐานสนิ คาและอาหารฮาลาลบรไู นสูตลาดสากล

      สําหรับการลงทุนจากตางประเทศนั้น เนื่องจากจุดแข็งของบรูไนคือความม่ังคั่งของทรัพยากร
พลังงานทง้ั น้ํามนั และกาซธรรมชาติ ซ่ึงเปนแหลง สรา งรายไดอันมหาศาลใหแกบรไู น สง ผลใหนกั ลงทุนจาก
ตา งประเทศโดยเฉพาะในสาขาพลังงานตางเขาไปดาํ เนินธุรกจิ ในบรูไน เชน องั กฤษ เนเธอรแ ลนด เปน ตน
ขณะที่ในชวงระยะหลังทางการบรูไนมีนโยบายกระจายโครงสรางทางเศรษฐกิจและสนับสนุนการมีสวน
รวมของภาคเอกชนมากขึ้น ประกอบกับทางการบรูไนมีแผนพัฒนาเขตอุตสาหกรรมหลายแหง เชน
Sungai Liang Industrial Park (ตั้งเปนศูนยกลางปโตรเลียมระดับ World class) Palau Muara Besar
Project (ตั้งเปาเปนทาเรือน้ําลึกและเขตอุตสาหกรรมสงออก) ทําใหคาดวาแนวโนมการลงทุนจาก
ตางประเทศในบรูไนจะเพ่ิมขึน้ ในอนาคต แมบรูไนจะเปนประเทศเลก็ และมีประชากรนอยแตช าวบรูไนจัด
วามีรายไดเฉล่ียตอคนสูงมาก จึงเปนตลาดผูบริโภคท่ีมีศักยภาพในการขยายธุรกิจคาปลีก รองรับความ
ตองการจับจายใชสอยของผูบริโภค ซ่ึงนับเปนสาขาธุรกิจท่ีมีสัดสวนการลงทุนสูงเปนอันดับตนๆ ของ
ประเทศ หนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ งกับการลงทุน ไดแก กระทรวงอุตสาหกรรมและทรพั ยากรพ้ืนฐาน (Ministry
   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366