Page 362 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 362

12-14	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ1ีย4น

of Industry and Primary Resources หรือ MIPR) Brunei Economic Development Board หรือ
BEDB และ Brunei International Centre หรือ BIFC

      นอกจากนี้ยงั สง เสริมอุตสาหกรรมการทองเท่ียวเชิงนเิ วศน โดยมจี ุดขายอยูที่การเปนประเทศที่มี
ความสงบและปลอดภัย และมีนโยบายจะพัฒนาประเทศใหเปนศูนยกลางทางการคาการทองเท่ียวและ
การรกั ษาพยาบาล (Service Hub for Trade and Tourism หรือ SHuTT 2003 Vision) แตย ังมี
อุปสรรคตา งๆ เขน การขาดแคลนชางฝม ือ ตลาดภายในประเทศมขี นาดเล็ก และขาดแคลนแรงงานทํา
ใหตองพ่ึงพาอาศัยแรงงานจากตางประเทศเปนหลัก ในสวนของภาคการผลิตที่สําคัญนอกจาก
อุตสาหกรรมขุดเจาะน้ํามันปโตรเลียม อุตสาหกรรมกลั่นน้ํามัน อุตสาหกรรมผลิตกาซธรรมชาติและ
อุตสาหกรรมการกอสรางแลว ยังมีภาคเกษตรกรรมที่สําคัญ ไดแก การผลิตขาวเจา มันสําปะหลัง
กลวย ปจ จบุ นั นร้ี ฐั บาลมีนโยบายพืน้ ฐานทจี่ ะเบนการพง่ึ พิงทางเศรษฐกิจของประเทศออกจากทรัพยากร
น้ํามันและกาซธรรมชาติไปสูภาคการผลิตอ่ืนๆ ใหมากข้ึน โดยรัฐบาลบรูไนไดมีนโยบาย Wawasan
Brunei 2035 หรือ Brunei’s Vision 2035 เพื่อกําหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ เชน สงเสริม
ใหมีอุตสาหกรรมที่ไมใชปโตรเลียมและกาซธรรมชาติเพื่อเปล่ียนแปลงโครงสรางเศรษฐกิจจากที่เคยพ่ึงพงิ
น้ํามันและกาซธรรมชาติเปนหลักไปสูโครงสรางทางเศรษฐกิจท่ีมีความหลากหลายมากขึ้น โดยมี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ เปนเคร่ืองมือในการดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายซึ่งปจจุบันอยูใน
แผนพัฒนาฯฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2555 – 2560) สง เสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืน สง เสริมอุตสาหกรรม
อาหาร ธุรกิจขนาดเล็กหรือ SME ผลิตสินคาของทองถ่ิน (โครงการหนึ่งหมูบานหนึ่งผลิตภัณฑหรือ
OVOP) และการพัฒนาตามแนวพระราชดํารขิ องสุลตานและสมเดจ็ พระราชาธิบดีที่มีพระราชประสงคให
เปน การพัฒนาอยา งยั่งยืน ซ่ึงเปน การพฒั นาเศรษฐกจิ พรอ มกบั การรักษาสงิ่ แวดลอมทางธรรมชาติ

      สวนในเร่ืองทางการประมงทะเลของประเทศบรูไนมีมูลคาทางเศรษฐกิจไมมากนักเมื่อเทียบกับ
รายไดของประเทศท่ีไดจากนํ้ามันและกาซธรรมชาติอยางไรก็ตามสัตวนํ้าจัดวาเปนอาหารโปรตีนท่ีมี
ความสําคัญตอประชากรของบรูไน คนบรูไนรับประทานปลาสูงถึงคนละ 45 กิโลกรับตอปทําใหบรูไน
ตองนําเขาอาหารทะเลเพ่ือการบริโภคปละกวา 7,750 ตันหรือรอยละ 50 ของความตองการบริโภค
ปลาทั้งหมด 15,500 ตัน นอกจากนี้อุตสาหกรรมประมง ปาไม การเกษตรนับเปนหนวยเศรษฐกิจท่ี
สรางรายไดใหกับบรูไนเพิ่มขึ้น และเปนอุตสาหกรรมท่ีผลิตสินคาสงออกเปนอันดับ 5 ของประเทศโดย
โรงงานผลิตสินคาประเภทปลาสวนใหญในเวลาน้ีเร่ิมสงสินคาไปจําหนายยังตลาดตางประเทศมากข้ึน
ประเทศบรูไนจึงหันมาสง เสริมการทําประมงพาณิชยอยางจริงจังโดยใหสิทธิประโยชนตางๆ มากมาย แต
สวนใหญยงั เปน ประมงขนาดเล็ก ( ฝา ยวชิ าการ เจเนซสิ มเี ดยี คอม, 2555)
   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366   367