Page 393 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 393

โครงการ1บ5ริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559       13-15
      การดาเนินการดา้ นมาตรฐานความปลอดภยั และคณุ ภาพสินคา้ เกษตรและอาหาร
      การกาหนดมาตรฐานการผลิต เกณฑ์คุณภาพ การตรวจสอบสารพษิ ตกคา้ งและวตั ถุเจอื ปน และจัดตั้ง
ระบบการแจ้งเตือนความปลอดภัยอาหารและอาหารสัตว์สาหรับประเทศไทย( Thailand Rapid Alert
System for Food and Feed: THRASFF) โดยความร่วมมอื ระหว่างกรมทเี่ กี่ยวข้อง อาทิ กรมวชิ าการเกษตร
กรมปศสุ ตั ว์ และกรมประมง กับสานักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

      https://www.google.co.th/search?q=ภาพการทาเกษตรกรรมของไทย
13.5 ผลกระทบดา้ นการลงทุนต่อภาคการเกษตร

      ตามความตกลงการเปิดเสรีการลงทุนอาเซียนทจ่ี ะให้สิทธนิ ักลงทนุ อาเซยี นเข้ามาถอื หุ้นได้มากขึ้นและ
อานวยความสะดวกในการเข้ามาลงทุนเพ่ิมมากขึ้นใน 5 สาขา คือ การผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ และเหมือง
แร่ และบริการท่ีเก่ยี วข้องกับการผลิตขา้ งต้น

      ซ่ึงประเทศไทยมีพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 กาหนดไว้ในบญั ชี 1 แนบ
ท้าย ไม่อนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาทาธุรกิจ ทานา ทาไร่ ทาสวน เลี้ยงสัตว์ และประมงในน่านน้า แต่สาหรับ
กิจการอื่นที่เป็นอุตสาหกรรมต่อเน่ืองกับการเกษตร เช่น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า การเพาะขยาย ปรับปรุงพันธุ์
พืช จะอยู่ในบัญชี 3 แนบท้าย ซึ่งสามารถอนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนได้ โดยผ่านความเห็นชอบจาก
กรรมการทเ่ี กยี่ วข้อง

      มาตรการเชงิ รับ
      อยู่ระหว่างการศึกษาผลกระทบจากการเปิดเสรีการลงทุนในกิจการที่ผูกพันไว้ภายใต้ความตกลงเขต
เสรีการลงทุนอาเซียน (AIA) ต้ังแต่ปี 2551 จานวน3 สาขา ได้แก่ การเพาะขยายและปรับปรุงพันธ์ุพืช การ
เพาะเลี้ยงสัตว์น้า และการทาป่าไม้จากป่าปลูก เพื่อประเมินผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นและจัดทาข้อเสนอ
มาตรการรองรบั รวมทั้งแสวงหาโอกาสท่ีพงึ ได้จากความตกลงว่าดว้ ยการลงทุนอาเซียน (ACIA)
      ปี 2553 ไทยจึงเปิดให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้ไม่เกิน 51% ในสาขาเพาะเลี้ยงทูน่าในกระชังน้าลึก
การเพาะเล้ียงกุ้งมังกรสายพันธ์ุในประเทศไทย และการเพาะขยายและปรับปรุงพันธ์ุ เฉพาะเมล็ดพันธ์ุ
หอมหัวใหญ่เน่อื งการสาขาการผลิตเหลา่ น้ี ไทยยงั ต้องการเรียนรูเ้ ทคโนโลยจี ากตา่ งชาติ
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398