Page 390 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 390

13-12	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

                                                            12

หลากหลายทั้งชนิดและรูปแบบ และมีคุณภาพจะสามารถกระจาย/เคลื่อนย้ายออกไปสู่ตลาดในอาเซียน
ตอบสนองความตอ้ งการของผู้บริโภคในอาเซยี นอน่ื ไดม้ ากขน้ึ เช่น สินค้าเกษตรอินทรีย์ สนิ ค้าฮาลาล เปน็ ต้น

          - ภาคการผลิตและแปรรปู จะไดป้ ระโยชน์จากการมแี หลง่ วัตถดุ ิบราคาถูกลง ลดตน้ ทุนตอ่ หน่วย
และมคี วามคุ้มคา่ ต่อขนาด (Economy of Scale) เพราะไมม่ กี ารเกบ็ ภาษศี ุลกากรในการนาเขา้ สนิ ค้า

          - เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรท่ีผลิตในเชิงพาณิชย์จะได้รับประโยชน์จากการพัฒนาและ
ปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับสินค้าเกษตรและ
อาหารตลอดจนสรา้ งความเช่ือม่นั ให้แกผ่ ูบ้ รโิ ภค เปน็ ผลให้ขยายการค้าสนิ คา้ ได้มากข้ึน ทั้งภายในอาเซยี นและ
ภูมภิ าคนอกอาเซยี น

          - การเข้ามาลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในกิจการท่ีเกี่ยวข้องด้านอุตสาหกรรมการเกษตร จะ
ช่วยลดต้นทุนในการผลิต เช่น โลจิสติกส์ และการจัดจาหน่าย ทาให้ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภคสินค้าได้
อยา่ งหลากหลาย และมีราคาท่ถี กู ลง รวมถึงทาให้มีการใช้ผลผลิตเกษตรมากขึ้นภายในประเทศ เพ่อื นาไปใช้เป็น
วตั ถุดบิ ในการผลิตต่อไป

          - การเปิดเสรีการลงทุนเอื้อประโยชน์ให้ผู้ประกอบการหรือเกษตรกรรายใหญ่ท่ีมีความพร้อม
ของไทย มีโอกาสในการขยายฐานการผลิตออกไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน สามารถลดต้นทุนการผลิตลง
เชน่ การปลูกอ้อย, ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ และการเลีย้ งโคขุน เปน็ ต้น

      ผลเชงิ ลบ
          - ต้องเผชิญกับภาวะคแู่ ข่งขนั และมีการแขง่ ขันในตลาดมากข้ึน
          - สินคา้ หลากหลายทีไ่ มไ่ ด้มาตรฐาน/คุณภาพต่าเขา้ มาขายในตลาดมากขึ้น
          - นกั ลงทนุ ต่างชาตทิ ไ่ี ด้สทิ ธกิ ารเป็นนกั ลงทุนอาเซียนเขา้ มาลงทนุ ในประเทศไทยมากขึน้
          - การเคลอ่ื นย้ายแรงงานมฝี ีมอื ของไทยไปประเทศท่ีมคี ่าตอบแทนสูงกว่า
          - เกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรบางชนิดอาจได้รับผลกระทบ เน่ืองจากผู้ซ้ือจะหันไปนาเข้า

สินค้าท่ีราคาถูกกว่าจากอาเซียนอ่ืน เน่ืองจากบางประเทศมีต้นทุนต่อหน่วยต่ากว่าและไม่มีภาษีนาเข้า เช่น
กาแฟ น้ามนั ปาลม์ สาหรบั ผู้ประกอบการการผลติ ที่มีประสิทธภิ าพต่ากว่า ตน้ ทนุ ต่อหนว่ ยสงู กแ็ ข่งขันไม่ได้

          - การผลติ สินค้าท่ไี ม่ได้ตามคณุ ภาพมาตรฐานก็อาจไมส่ ามารถแข่งขันไดเ้ ช่นกัน
          - การกาหนดมาตรการการค้าที่มิใช่ภาษีจะถูกใช้เป็นข้อจากัดด้านการค้าเพิ่มมากขึ้น เช่น
มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ความปลอดภัยของสินค้าและอาหาร การออกกฎระเบียบ
การตรวจสอบคณุ ภาพความปลอดภยั สินค้าอย่างเข้มงวดมากข้นึ การบงั คับตดิ ฉลากโดยระบุใหใ้ ช้ภาษาของแต่
ละประเทศ การกาหนดให้ใช้วสั ดุทผี่ ลติ ไดใ้ นประเทศ การกาหนดท่าหรอื จดุ นาเขา้ เป็นตน้

13.4 การดาเนนิ มาตรการด้านต่างๆ ในการเตรยี มภาคเกษตร
      การเตรียมความพร้อมในการรองรับการนาเข้าสินค้าเกษตร (ภาษีนาเข้า ร้อยละ 0-5) จากประเทศ

สมาชิกอาเซียน ประกอบด้วย
      มาตรการเชงิ รบั
   385   386   387   388   389   390   391   392   393   394   395