Page 394 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 394
13-16 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
16
มาตรการเชงิ รกุ
มีการประชุมหารือระหว่างภาครัฐและเอกชนผู้ประกอบการด้านสินค้าเกษตรและอาหาร เพื่อ
พิจารณาข้อมูลท่ีจาเป็น โอกาส และข้อจากัดในการขยายการลงทุนภายใต้ความตกลงด้านการค้าและการ
ลงทุนของอาเซียนภายหลังการเป็น AEC รวมถึงการพิจารณาโอกาสที่สมาชิกอาเซียนจะรวมตัวกันขยายการ
ลงทนุ ไปสภู่ มู ิภาคอ่นื ในนามของประชาคมอาเซยี น
13.6 ผลกระทบดา้ นคมนาคมตอ่ ภาคการเกษตร
มีโครงการเชื่อมโยงเส้นทางหลวงอาเซียน ซ่ึงยังมีเส้นทางในพม่าท่ียังเช่ือมต่อไม่สมบูรณ์ และมีถนน
ท่ีต่ากว่ามาตรฐานใน 6 ประเทศ ได้แก่ ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย รวมถึง
การเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟจากสิงคโปร์ ผ่านไปยัง มาเลเซีย ไทย กัมพูชา เวียดนาม และสิ้นสุดท่ีเมืองคุนหมิง
สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงการปรับมาตรฐานของเส้นทางคมนาคมทางบกและทางรถไฟให้มีมาตรฐาน
เดยี วกัน
นอกจากน้ี ยังมีการก่อสร้างท่าเรือทวาย ในเมียนมาร์ และการพัฒนาสมรรถนะท่าเรือต่างๆ ใน
อาเซียน เพื่อเป็นการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของอาเซียนอานวยความสะดวกในการขนส่งและกระจายสินค้า
ต่างๆ ทั้งสินคา้ เกษตรและสนิ ค้าอตุ สาหกรรมใหม้ ากยิ่งขึ้นและมตี น้ ทนุ ที่ลดลง
13.7 ผลกระทบดา้ นแรงงานตอ่ ภาคการเกษตร
ในประเด็นของการเคล่ือนย้ายแรงงานเสรี อาเซียนได้จัดทาความตกลงเฉพาะ “แรงงานฝีมือ” ท่ีมี
คุณสมบตั ิตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้ในข้อตกลงยอมรับร่วมกันด้านคุณสมบัติในสาขาวชิ าชีพหลักเท่านน้ั (Mutual
Recognition Arrangements: MRAs) ซึ่งปัจจุบันอาเซียนได้จัดทา MRAs ไว้แล้ว 7 สาขา คือ วิศวกรรม
สถาปนิก แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ นักบัญชี และการสารวจ ส่วนสาขาอ่ืนๆ ยังอยู่ระหว่างการพิจารณา ซึ่ง
แรงงานในภาคเกษตรยังไม่ได้รับผลกระทบจากข้อตกลงดังกลา่ ว
- แรงงานภาคเกษตรจะได้รบั ผลกระทบในช่วงแรกจากปัญหาการขาดแคลนแรงงาน เน่ืองจากการ
ย้ายกลับคืนถิ่นฐานของแรงงานต่างด้าว เช่น เมียนมาร์ ซ่ึงแนวโน้มการพัฒนาทางเศรษฐกิจมีการพัฒนาขึ้น
รวมถึงการขาดแคลนเกษตรกรรุ่นใหม่ทดแทนเกษตรกรในปัจจุบัน เนื่องจากแรงงานส่วนใหญ่เลือกท่ีจะอยู่ใน
ภาคธรุ กจิ หรอื ภาคอุตสาหกรรมมากกวา่ ภาคเกษตร
- เกษตรกรตอ้ งปรบั ตัวจากการผลติ แบบใช้แรงงานเข้มข้น เน้นปริมาณ มาเป็นการใชแ้ รงงานทักษะฝมี อื
เนน้ คุณภาพ เพือ่ เปน็ จดุ แข็งและสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าเกษตรของไทย เนน้ การผลติ สนิ คา้ คุณภาพดี ราคาต่อ
หนว่ ยสูง
- สาหรับภาคเกษตรควรเตรียมความพร้อมกรณีแรงงานต่างด้าวต้องการกลับประเทศ เกษตรกรไทย
ต้องปรับตัวด้วยการใช้องค์ความรู้ โดยเฉพาะเทคโนโลยีท่ีทันสมัย การใช้เครื่องจักรกลเกษตรเพ่ือทดแทน
แรงงานคน และการบริหารจดั การไร่นาท่ีถูกต้องมีประสิทธภิ าพ