Page 386 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 386

13-8	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

                                                             8

      ผลจากวกิ ฤตเศรษฐกิจทเี่ กดิ ขึ้นในประเทศไทยในปี พ.ศ.2540 ที่ได้ขยายไปสปู่ ระเทศอาเซยี นและ
ประเทศในแถบเอเชยี หลายประเทศได้ส่งผลกระทบให้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าอย่างรนุ แรงทั่วทวปี เอเชีย
ความไม่คืบหนา้ ของการเจรจาการค้าหลายฝา่ ยรอบโดฮาภายใต้องคก์ ารการค้าโลก ประกอบการขยายตัวของ
การจดั ทาเขตการคา้ เสรีทวิภาคี โดยมีสหรัฐอเมรกิ าเป็นผู้นา ทาใหอ้ าเซยี นจาเป็นตอ้ งหนั มาวางแผนและ
กาหนดทศิ ทางความร่วมมือของอาเซยี นใหช้ ัดเจนยงิ่ ขึน้ อีกคร้งั หนงึ่ ในการประชุมสดุ ยอดอาเซยี นอยา่ งไมเ่ ป็น
ทางการ คร้ังที่ 2 เม่ือเดือนธนั วาคม ปี พ.ศ.2540 ณ ประเทศมาเลเซีย ผูน้ าอาเซียนได้ประกาศวิสัยทศั น์
อาเซียน 2020 (ASEAN Vision 2020) ว่า“ อาเซยี นปี 2020 เปน็ ห้นุ สว่ นร่วมกนั พฒั นาอยา่ งมพี ลวตั ”
(ASEAN 2020: Partnership in Dynamic Development) เพ่ือใชเ้ ป็นเปา้ หมายการดาเนินงานด้านความ
รว่ มมือทางเศรษฐกิจของอาเซยี นและนาอาเซยี นไปสูเ่ ขตเศรษฐกิจท่ีมคี วามมนั่ คง มั่งคงั่ และสามารถแขง่ ขนั
ในตลาดโลกไดใ้ นทกุ ๆ ด้าน ในทศวรรษท่ี 21

      ต่อมาในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นครั้งท่ี 6 ปี พ.ศ.2541 ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม ผู้นา
อาเซียนไดใ้ หค้ วามเห็นชอบต่อแผนปฏบิ ัตกิ ารฮานอย (Hanoi Plan of Action) เพื่อใช้เปน็ แผนปฏิบัติการ
เพื่อบรรลวุ สิ ัยทศั น์ของอาเซียน อยา่ งไรก็ตาม ขณะท่ีอยู่ในชว่ งของการดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารฮานอย
ไดเ้ กดิ กระแสการจัดทาการค้าเสรีทวิภาคีระหวา่ งประเทศต่างๆ ที่ผลักดันให้ประเทศสมาชกิ อาเซยี นมกี าร
จดั ทาความตกลงกับประเทศนอกกลมุ่ ท้งั ในกรอบทวิภาครี ะดับประเทศและในกรอบของอาเซียน โดยเฉพาะ
การทอี่ าเซียนเขา้ สู่การเจรจาเพอื่ จดั ทาความตกลงเขตการค้าเสรีกบั ประเทศคู่เจรจาต่างๆ เช่น จีน ญปี่ ุ่น
อนิ เดยี ออสเตรเลีย และสหภาพยโุ รป ทาให้อาเซยี นต้องหันกลบั มาดาเนินการด้านความร่วมมือภายในกลุม่ ให้
มีความเข้มแข็งข้นึ ทป่ี ระชมุ สุดยอดอาเซยี นครง้ั ท่ี 8 เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ.2545 ณ กรุงพนมเปญ
ประเทศกมั พชู า จงึ เหน็ ชอบใหอ้ าเซยี นกาหนดทิศทางการดาเนินงานเพื่อนาไปสู่เปา้ หมายทชี่ ดั เจนคอื การเปน็
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และมอบให้รัฐมนตรีเศรษฐกจิ อาเซยี น
ไปศกึ ษารูปแบบและแนวทางการดาเนนิ การไปสู่ AEC
ในการประชุมสดุ ยอดคร้ังท่ี 9 เมอ่ื เดือนตลุ าคม ปี พ.ศ.2546 ณ นครบาหลี ประเทศอินโดนีเซยี ผู้นาอาเซียน
ได้ประกาศแถลงการณบ์ าหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์ทจี่ ะยกระดับการรวมกลมุ่ ภายใน
ภูมภิ าคเปน็ ประชาคมอาเซยี น ภายในปี พ.ศ.2563 (2020) โดยภายใต้ประชาคมอาเซียนประกอบดว้ ย 3 เสา
หลกั คอื ประชาคมความมนั่ คงของอาเซยี น (ASEAN Security Community: ASC) ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN
Social-Cultural Community: ASCC)

      ในการประชมุ สุดยอดผูน้ าอาเซยี น ครัง้ ท่ี 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ในเมืองเซบู ประเทศ
ฟลิ ปิ ปินส์ ผู้นาอาเซียนไดล้ งนามในปฏิญญาเซบวู า่ ดว้ ย การเรง่ รัดการจดั ตัง้ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นใหเ้ รว็
ขน้ึ จากกาหนดเดมิ ภายใน พ.ศ. 2563 (2020) เปน็ ภายในพ.ศ. 2558 (2015) (Cebu Declaration on the
Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community by 2015) และในการประชมุ สดุ ยอด
อาเซยี นครั้งท่ี 13 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ผนู้ าอาเซียนได้ลงนามในกฎบตั รอาเซียน
(ASEAN Charter) เพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนนิ การเพ่ือมุ่งสกู่ ารเป็นประชาคมอาเซยี นตอ่ ไป
   381   382   383   384   385   386   387   388   389   390   391