Page 382 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 382
13-4 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
4
เพยี งร้อยละ 17.5 ของมูลค่าการค้าระหวา่ งอาเซยี นกับตลาดโลก และมกี ารซอ้ื ขายสนิ ค้าภายใตโ้ ครงการให้
สิทธพิ ิเศษทางการค้าเพียงรอ้ ยละ 5 ของมลู คา่ การคา้ ระหวา่ งอาเซียนเท่านนั้ ท้ังน้ี อาจมีเหตผุ ลหลายประการ
เชน่ ลกั ษณะโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ท่ีตอ้ งพ่งึ ประเทศนอกกลุ่มมาก โครงการสร้างการผลติ และการสง่ ออกที่
คลา้ ยคลึงกันทาให้มีการพ่ึงพากนั น้อย การลดภาษีโดยเปิดโอกาสใหแ้ ต่ละประเทศสงวนสทิ ธ์สิ ินค้าที่เกรงว่า
อาจไดร้ ับผลกระทบจากการเปดิ ตลาด ทาให้แต่ละประเทศนาสินค้าทมี่ ีช่องทางท่ีจะขยายการคา้ ระหว่างกันไป
ไวใ้ นรายการทีส่ งวนสิทธ์ิ และนาสินคา้ ท่มี ีการคา้ ขายกันน้อยมาลดภาษีระหว่างกัน อัตราภาษีที่ลดไม่มนี ยั
พอทจ่ี ะทาให้เกดิ การขยายการคา้ ระหว่างกัน การลดโดยวิธกี ารกาหนดอตั ราส่วนลด (MOP) ไม่จงู ใจให้มี
การค้าเพม่ิ เนื่องจากเมื่อลดอัตราสว่ นลดแล้วยงั มอี ตั ราภาษอี ยูใ่ นระดับสงู นอกจากน้ันยงั มมี าตรการทมี่ ิใช่ภาษี
ท่ีไม่ได้มีการยกเลิกอีกมาก
2) ความรว่ มมือด้านอตุ สาหกรรม ไดม้ ีโครงการความร่วมมือท่สี าคญั เกิดขนึ้ 3 โครงการ คือ
2.1) โครงการอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Project: AIP) เป็นโครงการ
ร่วมมอื ในอุตสาหกรรมขนาดใหญข่ องอาเซียน เพือ่ สนองความตอ้ งการผลติ ภณั ฑ์ทีส่ าคัญๆ โดยกาหนดใหม้ ี
โครงการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ต้ังอยใู่ นแตล่ ะประเทศอย่างนอ้ ยทส่ี ดุ ประเทศละ 1 โครงการ เพื่อผลิตสนิ ค้า
อุตสาหกรรมที่อยู่ในความต้องการประเทศสมาชิก และทุกประเทศสมาชกิ จะเป็นเจา้ ของของโครงการรว่ มกนั
อย่างไรก็ตามในทางปฏิบตั ิการดาเนนิ งานภายใตโ้ ครงการดังกลา่ วไม่มีผลคืบหนา้
2.2) โครงการแบ่งผลิตทางอุตสาหกรรมอาเซียน (ASEAN Industrial
Complementation: AIC) อาเซียนไดม้ ีการลงนามในความตกลงพ้ืนฐานวา่ ดว้ ยการแบง่ ผลิตทางอตุ สาหกรรม
ของอาเซยี น (Basic Agreement on ASEAN Industrial Complementation: BAAIC) เมอ่ื พ.ศ.2524 โดย
มวี ตั ถุประสงคใ์ หม้ ีการแบ่งผลิตสนิ ค้าทางอุตสาหกรรมแลว้ มาซือ้ ขายแลกเปล่ียนกันเอง โดยประเทศสมาชิกจะ
ใหส้ ทิ ธพิ ิเศษทางภาษีศลุ กากรเท่ากันทุกประเทศร้อยละ 50 และเปน็ ทีต่ กลงกนั ว่าผลติ ภัณฑท์ จ่ี ะเสนอมาอยู่ใน
โครงการแบ่งผลติ ทางอุตสาหกรรมอาเซยี นชุดแรก จะเปน็ ผลิตภัณฑ์ยานยนตท์ ่มี ีการผลิตอยูแ่ ล้วในอาเซยี น ใน
พ.ศ.2531 ได้มีการลงนามใน Memorandum of Understanding on the Brand-to-Brand
Complementation Scheme เพอ่ื แบ่งผลติ ช้ินสว่ น ส่วนประกอบรถยนต์ ระหว่างบริษัทผผู้ ลิตชิน้ ส่วน
รถยนตใ์ นแตล่ ะยหี่ อ้ เช่น โตโยต้า มิตซูบิชิ นิสสัน วอลโว่ เมอร์ซิเดสเบนซ์ เรยโ์ นลท์ DAF มาสด้า และบเี อ็ม
ดบั บลิว โครงการน้ีนบั ไดว้ ่าประสบความสาเรจ็ พอสมควรจากการแลกเปลยี่ นช้นิ สว่ นการผลติ และการดึงดูด
การลงทุนจากต่างประเทศ
2.3) โครงการรว่ มลงทุนด้านอุตสาหกรรมของอาเซยี น (ASEAN Industrial Joint
Ventures: AIJV) อาเซยี นได้ลงนามในความตกลงพื้นฐานวา่ ด้วยโครงการร่วมลงทุนด้านอตุ สาหกรรมของ
อาเซียน (Basic Agreement on ASEAN Industrial Joint Ventures: BAAIJV) ใน พ.ศ. 2526 โดยมี
หลกั การสาคัญ คือ เปน็ โครงการรว่ มลงทนุ ของภาคเอกชนจากอาเซยี นอยา่ งนอ้ ย 2 ประเทศ ใหป้ ระเทศที่
ไม่ใชป่ ระเทศสมาชิกอาเซียน (non-ASEAN) ถอื หุน้ ไดร้ ้อยละ 49 ซึง่ ต่อมาไดข้ ยายเปน็ ร้อยละ 60 และ
ประเทศที่เขา้ ร่วมลงทนุ จะได้รบั สิทธพิ เิ ศษในการลดภาษีศุลกากร (MOP) อย่างน้อยร้อยละ 90
3) ความร่วมมอื ดา้ นอาหาร เกษตรและป่าไม้ มีโครงการท่สี าคญั คือ การสารองเพื่อความ
มั่นคงในด้านอาหารของอาเซียน (ASEAN Food Security Reserve) มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และ