Page 380 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 380

13-2	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

                                                             2

13.1 พฒั นาการและบรบิ ทของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นต่อเศรษฐกจิ ภาคการเกษตร
      การรวมกลมุ่ ของอาเซยี นหรือสมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ (The Association of

South East Asian Nations: ASEAN) กอ่ ตั้งข้ึนเม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยการลงนามในปฏญิ ญา
อาเซยี น (ASEAN Declaration) หรอื เรียกอีกอยา่ งหนงึ่ ว่าปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ของ
ประเทศสมาชกิ ท่ีมีทต่ี ้งั อยใู่ นภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ 5 ประเทศ คอื อนิ โดนีเซยี มาเลเซยี สิงคโปร์
ฟิลปิ ปินส์ และไทย

       ตามปฏญิ ญาอาเซยี นไดก้ าหนดวัตถปุ ระสงค์ของการกอ่ ต้ังอาเซยี นไวอ้ ย่างกว้างๆ โดยไมไ่ ด้มี
วตั ถุประสงค์ทจี่ ะก้าวไปอยใู่ นข้ันตอนใดขั้นตอนหนงึ่ ของการรวมกลมุ่ เศรษฐกจิ ดังน้ี

          1) เพอื่ เรง่ รัดการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหนา้ ทางสงั คม และการพัฒนาทาง
วัฒนธรรม โดยเพียรพยายามร่วมกนั ด้วยเจตนารมณแ์ ห่งความเสมอภาคและความรว่ มมือร่วมใจ ทั้งน้เี พ่ือ
เสรมิ สรา้ งรากฐานสาหรบั ประชาคมที่มีความรุ่งเรืองและสันตสิ ุขแห่งประชาชาติเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้

          2) สง่ เสรมิ สันตภิ าพและเสถยี รภาพในภมู ภิ าคโดยเคารพอย่างแน่วแนใ่ นความยตุ ธิ รรมและหลกั
แห่งเนติธรรมในการดาเนินความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศสมาชิก และยึดมั่นในหลักการแหง่ กฎบตั ร
สหประชาชาติ

          3) ส่งเสริมให้มคี วามร่วมมือกระทากันอยา่ งจรงิ จงั และใหค้ วามชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกันในเรื่องที่
มีผลประโยชน์รว่ มกนั ในด้านเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม วชิ าการ วทิ ยาศาสตร์ และการบริหาร

          4) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกันในรูปของการอานวยความสะดวกดา้ นการฝกึ อบรมและวิจยั
ในด้านการศึกษา วชิ าชพี วิชาการ และการบรหิ าร

          5) ร่วมมอื กระทาการอยา่ งมีประสิทธิภาพเพือ่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากการเกษตร อตุ สาหกรรม การ
ขยายการค้า รวมถึงการศึกษาปัญหาการค้าระหว่างประเทศเก่ียวกบั สนิ คา้ โภคภัณฑ์ การปรบั ปรงุ สิ่งอานวย
ความสะดวกด้านการขนส่งและคมนาคม และการยกระดบั การครองชีพของประชาชน

          6) ส่งเสริมการศึกษาเกย่ี วกับเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
          7) ดารงไว้ซึ่งความร่วมมืออยา่ งใกลช้ ิดและผลประโยชนก์ บั องค์การระหวา่ งประเทศและในสว่ น
ภมู ภิ าค
      เปน็ ทยี่ อมรบั ว่าการก่อต้ังอาเซยี นในยุคนั้นเกิดขึ้นจากแรงผลกั ดนั ด้านการเมืองภายใตส้ ถานการณ์การ
ขยายตวั ของลัทธคิ อมมิวนิตส์เข้ามาในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ดงั น้ันในระยะ 10 แรกของการกอ่ ต้งั
อาเซยี น อาเซยี นจงึ ใช้เวลาสว่ นใหญ่ไปในการแก้ไขปญั หาด้านการเมืองมากกวา่ การให้ความสาคัญในประเดน็
ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจไดเ้ ร่ิมมีขนึ้ อยา่ งเป็นรปู ธรรมภายหลงั การประชมุ สดุ
ยอดอาเซยี นคร้งั ท่ี 1 ใน พ.ศ. 2519 เปน็ ตน้ มา หรือระยะเวลา 9 ภายหลงั จากการก่อตงั้ อาเซียน
      ในภาพรวมอาเซียนได้มวี ิวัฒนาการความรว่ มมือด้านต่างๆ มาโดยลาดับท้ังในแนวกวา้ งคือการขยาย
ประเทศสมาชิกเพม่ิ ขึ้นจาก 5 ประเทศ เปน็ 10 ประเทศ ไดแ้ ก่ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม (2527) เวียดนาม
(2538) ลาวและพม่า (2540) กัมพชู า (2542) การรวมตัวในแนวลกึ ทางด้านเศรษฐกิจได้ยกระดับการรวมตวั
จากความร่วมมือทางเศรษฐกิจแบบหลวมๆ โดยการจัดทาความตกลงการใหส้ ทิ ธพิ ิเศษทางการคา้ ระหวา่ ง
อาเซียน (ASEAN Preferential Trading Arrangement: ASEAN PTA) ซ่งึ ถือเปน็ การดาเนินการในขั้นตอน
   375   376   377   378   379   380   381   382   383   384   385