Page 375 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 375

โครงการ2บ7ริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559     12-27

      ความสมั พนั ธด า นการคา
      การคารวม บรูไนเปน คคู า อนั ดับที่ 9 ของไทยในอาเซียนและเปน คูคา อนั ดับที่ 52 ของไทยในโลก
การคาของไทยกับบรูไนในระยะ 5 ป (พ.ศ. 2552-2556) มีมูลคาเฉลี่ยปละ 413.68 ลานดอลลารสหรัฐ
โดยในป พ.ศ. 2556 การคา รวมไทย-บรูไนมีมูลคา 712.75 ลา นดอลลารส หรัฐ เพ่มิ ขึน้ รอยละ 12.62 จาก
ปกอน โดยไทยเปนฝายขาดดุลการคามูลคา 380.34 ลานดอลลารสหรัฐ (กรมเจรจาการคาระหวาง
ประเทศ)
      การสงออก บรูไนเปนตลาดสงออกอันดับท่ี 9 ของไทยในอาเซียนและเปนตลาดสงออกอันดับที่
75 ของไทยในโลก ในระยะ 5 ป (พ.ศ. 2552-2556) การสงออกของไทยไปบรูไนมีมูลคาเฉลี่ยปละ 148
ลานดอลลารสหรัฐ โดยในป พ.ศ. 2556 ไทยสงออกไปบรูไนมีมูลคา 166.2 ลานดอลลารสหรัฐ สินคาที่
สงออก ไดแก รถยนต อุปกรณสวนประกอบ ขาว เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑเคร่ืองจักรกล และ
สว นประกอบ ปนู ซเี มนต หมอ แปลงไฟฟาและสว นประกอบผลิตภัณฑยาง เครื่องนุง หม เคร่อื งปรบั อากาศ
และสว นประกอบ อาหารเลยี้ งสัตว
      การนําเขา บรูไนเปนตลาดนําเขาอันดับที่ 8 ของไทยในอาเซียนและอันดับที่ 14 ของไทยใน
ตลาดโลก ในระยะ 5 ป (พ.ศ. 2552-2556) การนําเขาของไทยจากบรูไนมีมูลคาเฉลี่ย ปละ 265.7 ลาน
ดอลลารสหรัฐโดยในป พ.ศ. 2556 ไทยนําเขาจากบรูไนมูลคา 546.6 ลานดอลลารสหรัฐ สินคาท่ีนําเขาท่ี
สําคัญ ไดแก น้ํามันดิบ เคมีภัณฑ เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑโลหะ สัตวนํ้าสด แชเย็น แช
แข็ง แปรรูปและก่ึงสําเร็จรูป สัตวและผลิตภัณฑจากสัตว สินแรโลหะอ่ืนๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ
เครอ่ื งจกั รกลและสว นประกอบ เย่ือกระดาษและเศษกระดาษและสวนประกอบและอปุ กรณรถยนต

      การลงทนุ
      สําหรับบริษัทไทยที่ไปลงทุนในประเทศบรูไนคือ บริษัท Brunei Construction ซึ่งเปนบริษัท
รับเหมากอสราง ไมมีบริษัทท่ีเปนของคนไทยโดยตรงเนื่องจากตามกฎหมายของประเทศบรูไน การทํา
กิจการตางๆ จะตองมคี นบรูไนเปน หุนสว นอยูเสมอสําหรับธรุ กิจไทยในประเทศบรูไน สวนมากจะเปนราน
ขายของ รานอาหาร รานตัดเสือ้ และอูซอมรถ ประเทศไทยแสดงความสนใจที่จะเขาไปทําประมงในเขต
ทําการประมงตา งชาติ (เขต 4 ในระยะ 45 – 200 ไมลท ะเลจากชายฝง ) ในรูปแบบ Joint venture
ตามกฎระเบียบและขอบังคับท่ีกําหนดโดยรัฐบาลบรูไน นอกจากน้ีคนไทยนาจะมีโอกาสเขาไปลงทุนใน
อุตสาหกรรมประเภทอาหารรวมถึงสัตวนํ้าและผลิตภัณฑประมงเน่ืองจากจะไดรับสิทธิพิเศษทางภาษี
รวมทั้งคนไทยมีฝมือและความสามารถทางดานน้ีมาก สวนบรูไนน้ันมีความสนใจในโครงการพัฒนาเขต
เศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดนกับประเทศเพ่ือนบานของไทยโดยฝายไทยพรอมที่จะเสนอขอมูลและ
รายละเอียดในโอกาสตอไปเพ่ือเปนการสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและการคากับประเทศเพื่อนบานและ
อาเซียน
   370   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380