Page 374 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 374

12-26	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ2ีย6น

      ความสัมพนั ธท ว่ั ไป
      เร่ิมจากท่ีประเทศไทยไดมีการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตกับบรูไนเม่ือวันท่ี 1 มกราคม
พ.ศ. 2527 (ค.ศ.1984) เมอื่ ประเทศบรูไนไดเ ปน เอกราชและเขา เปนสมาชิกอาเซียน ซ่ึงทงั้ สองประเทศมี
ความสัมพันธใกลชิดกันมาโดยตลอดโดยเฉพาะในระดับราชวงศ มีการแลกเปลี่ยนการเยือนในระดับ
ราชวงศผูนําระดับสูงของรัฐบาล และผูนําระดับสงู ของกองทัพอยเู สมอ สมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จ
พระราชินีไดเสด็จมารวมพิธีเฉลิมฉลองการครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปของพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชระหวางวันท่ี 11 – 14 มิถุนายน 2549 และเสด็จมาเยือนประเทศไทยอีก
หลายครง้ั ทง้ั แบบเปนทางการและแบบเปนการสว นพระองคโดยสมเดจ็ พระราชาธิบดแี หงบรูไนเสดจ็ เยือน
ประเทศไทยคร้งั ลา สุดเมือ่ ป พ.ศ. 2555 เจาชายอัลมหุ ต าดี บลิ ละห มกฎุ ราชกมุ ารแหง บรูไนเสดจ็ มายัง
สถานเอกอัครราชฑูตไทย ณ กรุงบันดาเสรีเบกาวันเม่ือวันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เพื่อแสดง
ความไวอาลัยแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชซ่ึงไดเสด็จสวรรคตเม่ือวันที่ 13 ตุลาคม
พ.ศ. 2559 และนายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ จันทรโอชา เยือนบรูไนอยางเปนทางการหลังจากเขา
รับตําแหนงตามธรรมเนียมปฏิบัติของผูนําอาเซียน เม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2558 นอกจากนี้ทั้งสอง
ประเทศยังมีทัศนคติท่ีดีตอกัน ไมเคยมีความบาดหมางทางประวัติศาสตรและมักเปนพันธมิตรในเรื่อง
ตา งๆ ทั้งในกรอบอาเซยี นและสหประชาชาติ

      ความสัมพนั ธด านการเมือง
      ประเทศไทยและประเทศบรูไนไดมีการจัดต้ังกลไกความรวมมือทวิภาคีระหวางกัน คือ
คณะกรรมาธิการรวมวาดวยความรวมมือทวิภาคีไทย – บรูไน ซึ่งมีการประชุมครั้งท่ี 1 เมื่อวันท่ี 30 –
31 มีนาคม 2546 ท่ีกรุงเทพฯ การประชุมคร้ังน้ีไดมีการหารือเกี่ยวกับการสงเสริมความสัมพันธและ
ความรวมมือระหวางทั้งสองประเทศในดานตางๆ เชน การทหาร การคา การลงทุน การประมง
แรงงาน และการทองเท่ียวและวฒั นธรรม โดยไทยประสบความสาํ เร็จในการโนมนาวใหประเทศบรูไนให
ความสําคัญ กับการลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลและรวมมือกันจัดต้ังธนาคารอิสลามแหงประเทศ
ไทยขึ้นเมื่อวันท่ี 3 กันยายน 2546 มีการจัดตั้งกองทุนรวม (Matching Fund) กองทุนไทยทวีทุน
(ระหวาง Brunei Investment Agency) กบั กองทุนบาํ เหน็จบํานาญขาราชการ
      สําหรับทาทีของฝายบรูไนตอสถานการณการเมืองของไทยน้ัน เม่ือวันท่ี 27 กันยายน 2549
เอกอัครราชทูต ณ กรุงบันดาร เสรีเบกาวันไดเขาพบปลัดกระทรวงฝายการเมือง กระทรวงการ
ตางประเทศ และการคาของประเทศบรไู น เพอื่ ช้แี จงเกีย่ วกับสถานการณใ นประเทศไทย ปลดั กระทรวง
กลาววาเหตุการณท่ีเกิดข้ึนเปนเรื่องภายในของประเทศไทยซ่ึงมีสิทธิกําหนด อนาคตของตนเอง โดย
ประเทศบรูไนมนี โยบายไมเขาแทรกแซงและเคารพอํานาจอธปิ ไตย เอกราชความม่ันคงของรฐั และยินดีที่
ไดทราบวา ไมเกิดเหตุการณร นุ แรง รวมทงั้ ประชาชนสามารถดาํ เนนิ ชวี ติ ไดต ามปกติ นอกจากนน้ั ยังกลาว
ยาํ้ วา ประเทศบรูไนมีความเชอ่ื มั่นอยา งเตม็ ทีว่ าไทยจะสามารถบริหารจดั การใหท ุกอยางดาํ เนนิ ไปดว ยดี
   369   370   371   372   373   374   375   376   377   378   379