Page 381 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 381

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559       13-3

                                                             3

แรกของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2520 ยกระดบั เป็นเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade
Area: AFTA) ซงึ่ อยู่ในขัน้ ตอนที่สองของการรวมกล่มุ เศรษฐกิจในปี พ.ศ.2535 และกา้ วสู่การเป็นประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community: AEC) ซงึ่ อยู่ในขัน้ ตอนท่ีสีข่ องการรวมกลุ่มเศรษฐกจิ
ในปี พ.ศ.2558 (ดูลาดับขั้นของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจในบทท่ี 1 ) โดยไม่ไดด้ าเนินการในขน้ั ตอนท่สี ามคือ
ข้นั ตอนของสหภาพศุลกากรซ่ึงจะต้องมกี ารกาหนดอตั ราภาษนี าเข้าจากประเทศนอกกล่มุ ในอัตราเดยี วกัน

     ในด้านววิ ฒั นาการความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ของกลุ่มอาเซียนแบ่งออกเป็น 3 ชว่ งดังน้ี
      ชว่ งที่ 1 การจัดทาความตกลงวา่ ด้วยการให้สทิ ธิพิเศษทางการค้าของอาเซียน (ASEAN-PTA) พ.ศ
2520
      จากเหตุผลของการก่อตงั้ อาเซียนทีเ่ น้นความร่วมมือด้านความมนั่ คงเป็นหลักทาใหใ้ นระยะ 9 ปีแรก
อาเซยี นได้ให้ความสนใจต่อการแกไ้ ขปัญหาด้านการเมืองในภูมิภาคมากกว่าความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ
จนกระท่ังในการประชมุ สุดยอดอาเซยี นคร้ังท่ี 1 พ.ศ.2519 ณ นครบาหลี ประเทศอนิ โดนีเซีย อาเซยี นได้มีการ
ลงนามในปฏญิ ญาสมานฉนั ท์แหง่ อาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) ทีม่ สี าระครอบคลมุ ทั้งเรื่อง
การเมือง เศรษฐกิจ และดา้ นอืน่ ๆ ในสว่ นเศรษฐกิจได้กาหนดแนวทางความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจไว้อยา่ งเปน็
รปู ธรรมเปน็ ครง้ั แรก 4 ดา้ น คือ

          1) ใหม้ คี วามรว่ มมือด้านการพัฒนาอตุ สาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดใหญภ่ ายใน
อาเซียน

          2) ใหม้ กี ารจดั ทาความตกลงวา่ ด้วยการใหส้ ทิ ธพิ ิเศษทางการค้าเพอ่ื สง่ เสริมการค้าภายใน
ภมู ภิ าคอาเซยี น

          3) ใหม้ ีความร่วมมือกนั ระหวา่ งประเทศสมาชิกในการเข้าสูต่ ลาดนอกอาเซยี น
          4) ให้มีความร่วมมือในการแกไ้ ขปญั หาสินค้าโภคภัณฑร์ ะหวา่ งประเทศผลของการประชมุ
ดังกล่าวทาให้อาเซยี นเรมิ่ มีความร่วมมอื ด้านเศรษฐกจิ 5 ด้านคือ ดา้ นการค้าและการทอ่ งเที่ยว ดา้ น
อุตสาหกรรม แร่ธาตุ และพลังงาน ดา้ นอาหาร เกษตร และปา่ ไม้ ดา้ นการเงนิ และการธนาคาร และด้านการ
ขนส่งและคมนาคม
       นอกจากนัน้ ไดม้ ีการกาหนคความตกลงในทางปฏิบตั ดิ ้านตา่ งๆเพ่ือเป็นกรอบและแนวทางปฏบิ ตั ิ
ดังน้
          1) ความรว่ มมือดา้ นการค้า ได้มกี ารลงนามในความตกลงว่าดว้ ยการให้สทิ ธิพิเศษทางการค้า
ของอาเซยี น (Agreement on ASEAN Preferential Trading Arrangement: ASEAN PTA) ข้ึนเม่ือวนั ท่ี 24
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2520 โดยกาหนดให้มกี ารลดภาษีศุลกากรนาเขา้ สนิ คา้ จากประเทศสมาชิกในรูปแบบการลด
อตั ราภาษีจากอตั ราภาษปี กติหรอื ทเี่ รียกว่า อัตราสว่ นลด (Margin of Preference: MOP) สาหรบั รายการ
สนิ คา้ ท่นี ามาลดภาษีใช้วิธกี ารทงั้ การนาสินค้ามาลดภาษโี ดยสมัครใจ การเจรต่อรองทวภิ าคี และการลดภาษี
โดยการกาหนดชว่ งเพดานข้ันตา่ เพื่อนามาลดภาษเี ป็นช่วงๆ ในแต่ละช่วงอนญุ าตแตล่ ะประเทศกนั รายการ
สนิ คา้ ทไ่ี มต่ อ้ งการลดหย่อนภาษเี ปน็ รายการสินค้าสงวนสทิ ธิ์ (Exclusion List)ไม่นามาลดภาษไี ด้
        อย่างไรกต็ ามความตกลงการใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางการค้าหรือลดภาษรี ะหว่างกนั ดังกล่าว มไิ ด้มผี ลทาให้
อาเซยี นมีการขยายการค้าระหวา่ งกันมากนัก จากสถิตขิ องปี พ.ศ.2530 พบวา่ อาเซยี นมีการคา้ ระหว่างกัน
   376   377   378   379   380   381   382   383   384   385   386