Page 383 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 383
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 13-5
5
กนั ในยามขาดแคลนอาหารและในภาวะฉุกเฉนิ โดยแตล่ ะประเทศสมาชิกได้ทาข้อตกลงเมอ่ื พ.ศ. 2522 มีการ
สารองข้าวร่วมกนั เปน็ จานวน 53,000 ตนั ปจั จุบันได้เพิม่ เปน็ 87,000 ตันโดย บรูไนดารสุ ซาลาม กมั พชู า ลาว
สารองขา้ วจานวนเทา่ กันคือ 3,000 ตนั เวียดนามและพมา่ 14,000 ตัน อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ 12,000 ตน้
มาเลเซยี 6,000 ตัน สิงคโปร์ 5,000 ตนั และไทย 15,000 ตนั และโครงการอืน่ ๆ เชน่ โครงการคุ้มครองโรค
พืชของอาเซยี น โครงการคุ้มครองโรคสัตว์ โครงการร่วมมือด้านประมง ป่าไม้
4) ความร่วมมือด้านการคลงั และธนาคาร มีโครงการทีส่ าคัญ เชน่ การสง่ เสรมิ การใช้เงินสกุล
อาเซียนในการคา้ และการลงทนุ ในอาเซียน และการจดั ตัง้ บรษิ ทั การเงินของอาเซียน
5) ความร่วมมือด้านการขนสง่ และส่ือสาร มโี ครงการทส่ี าคญั เช่น โครงการเช่อื มถนนหลวง
โครงการเช่อื มเรือเฟอร์ร่ี การสารวจระบบรว่ มกนั ขนสง่ สนิ คา้ ของอาเซียน
ชว่ งท่ี 2 การจดั ทาเขตการคา้ เสรีอาเซยี น พ.ศ. 2535
จากจดุ อ่อนและข้อบกพร่องของ ASEAN-PTA ประกอบกับกระแสการเปลีย่ นแปลงทาง
การเมืองและเศรษฐกจิ โลกในช่วงตน้ ทศวรรษท่ี 1990 ที่การแข่งขันทางการค้าได้ทวคี วามรุนแรงขึ้นจากการ
ล่มสลายของระบบสงั คมนิยมในยุโรปตะวนั ออก การทีป่ ระเทศพัฒนาได้ใช้มาตรการกีดกันการคา้ ในรูปแบบ
ตา่ งๆ เพม่ิ ข้ึน ประกอบกบั ความไม่มนั่ ใจในการแก้ไขปัญหาในกรอบเวทีการเจรจาการค้าหลายฝา่ ยรอบใหม่
(รอบอรุ กุ วยั ) ทาให้ประเทศต่างๆ หันไปให้ความสนใจและเหน็ ความจาเปน็ ที่จะมกี ารรวมกล่มุ ในภมู ิภาคเพอ่ื ใช้
เป็นอานาจในการต่อรองการคา้ ระหวา่ งกนั มากขน้ึ ขณะที่ประชาคมเศรษฐกจิ ยโุ รปได้กระชับความรว่ มมือ
ภายในกลมุ่ ใหแ้ นน่ แฟน้ ขึ้นโดยยกระดับเปน็ ตลาดยุโรปเดยี ว (Single European Market: SEM) ซึง่ เป็นการ
ดาเนินการรวมกลมุ่ ในขั้นตอนของการเป็นตลาดร่วมเริม่ ในปี พ.ศ.2535 รวมทัง้ กาหนดเปา้ หมายการเปน็
สหภาพยโุ รปซึง่ อยใู่ นขนั้ ตอนการเป็นสหภาพเศรษฐกิจในปี 2542 ขณะเดยี วกันสหรัฐอเมรกิ าได้มีการก่อต้ัง
เขตการคา้ เสรอี เมริการเหนือ (NAFTA) รวมทงั้ มีความเคลื่อนไหวในการรวมกลุ่มของประเทศในภมู ภิ าคอน่ื
เช่น อเมรกิ าใต้ อเมริกากลาง แอฟริกา อาเซียนจงึ มีความจาเป็นท่ตี ้องแสวงหาแนวทางใหมๆ่ เพื่อกระชับ
ความร่วมมือทม่ี ีอยู่เดมิ ใหม้ คี วามแน่นแฟน้ ขึน้ ในการเตรียมการประชุมสดุ ยอดอาเซยี นครั้งที่ 4 พ.ศ. 2535 ณ
ประเทศสิงคโปร์ มีประเทศสมาชกิ ได้เสนอแนวทางกระชับความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ใหม่หลายแนวทาง ได้แก่
สงิ คโปร์เสนอให้จดั ตง้ั สามเหลี่ยมแห่งการเจรญิ เติบโต (Growth Triangle) อนิ โดนเี ซยี เสนอให้ใชอ้ ัตราภาษี
ร่วมกนั (Common Effective Tariff) มาเลเซยี เสนอใหม้ ีการรวมกลุม่ เอเซียตะวนั ออกโดยรวม ญปี่ นุ่ จนี และ
เกาหลี สาหรับประเทศไทยเสนอให้มีการจัดตัง้ เขตการค้าเสรอี าเซียน ทงั้ น้ีโดยเปน็ ไปตามแนวคดิ ของ ฯพณฯ
นายกรัฐมนตรี อานนั ท์ ปนั ยารชุน ท่ีได้เคยเสนอข้อคิดเห็นในนามของภาคเอกชนให้มีการกระชับความ
ร่วมมือทางเศรษฐกจิ ของอาเซียนโดยการจัดต้งั ในรปู ของตลาดร่วม (Common Market)
ในที่สุดทป่ี ระชุมไดม้ ีมตเิ หน็ ชอบตามข้อเสนอของประเทศไทยและให้ประเทศไทยไปจดั ทา
รายละเอียดปรากฏตามเอกสาร “The Anand Initiative for a Break Through in ASEAN Economic
Cooperation” และที่ประชุมสุดยอดอาเซยี น ครั้งที่ 4 ประเทศสิงคโปร์ ได้มีการลงนามในปฏญิ ญาสิงคโปร์
(Singapore Declaration) และกรอบความตกลงว่าด้วยการขยายความรว่ มมือทางเศรษฐกิจของอาเซยี น
(Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic Cooperation) เพ่ือใช้เป็นกรอบดาเนินการ
และความตกลงว่าดว้ ยการใช้อัตราภาษีพเิ ศษท่เี ทา่ กนั สาหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (Agreement on the