Page 42 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 42

1-24	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน24

      1) ส่งเสริมให้มีการค้าเพิ่มขึ้น มีตลาดท่ีกว้างขวางข้ึน มีการลดอุปสรรคทางการค้าซ่ึงส่งผลให้การ
สง่ ออกสะดวกยง่ิ ข้ึน

      2) การท่ีมีตลาดกว้างขวาง เป็นการส่งเสริมให้มีการผลิตจานวนมาก เกิดการประหยัดต่อขนาด
(Economy of Scale) ทาให้ต้นทุนการผลิตถูกลง ราคาเป็นไปตามกลไกของตลาด มีสินค้าตอบสนองความ
ต้องการภายในกลุ่มประเทศสมาชกิ และผบู้ ริโภคสามารถเลอื กบรโิ ภคสินค้าทม่ี คี ุณภาพดไี ด้ สง่ ผลใหป้ ระชาชน
มีมาตรฐานการครองชีพทดี่ ีขึน้

      3) การจัดสรรทรัพยากรของโลกมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการกระจายแหล่งวัตถุดิบ ทาให้วัตถุดิบใน
การผลิตมรี าคาถูกลง

      4) กระต้นุ ให้มีการลงทุนจากต่างประเทศมากขนึ้
      5) ทาใหเ้ พิ่มอานาจในการเจรจาตอ่ รองกบั ประเทศทมี่ ีอานาจต่อรองมากกว่า
      6) ส่งผลให้เกิดความร่วมมือด้านอ่ืนๆ เช่น วิชาการ ตลอดจนความสัมพันธ์ด้านการเมืองระหว่าง
ประเทศดขี ึน้ และเปน็ การถ่วงดุลอานาจให้ประเทศอื่นๆ มีความเสมอภาคเท่าเทยี มกัน

   ผลเสยี
      1) อุตสาหกรรมเกิดใหม่ (Infant Industries) ในประเทศ และยังไม่มีความสามารถในการแข่งขันใน

ตลาดโลก จะได้รับผลกระทบจากสนิ ค้าในกลมุ่ เศรษฐกิจเดยี วกนั ท่ีมีราคาถกู กวา่
      2) ประเทศในกลุ่มเศรษฐกิจเดียวกัน อาจมีโครงสร้างการส่งออกสินค้าเหมือนกันจะกลายเป็นการ

แขง่ ขนั กันเอง
      3) ทาให้มตี ้นทุนในการเจรจา การบรหิ าร และการปรบั ตัวทางเศรษฐกิจ
      4) ประเทศสมาชกิ ไม่สามารถกาหนดนโยบายเศรษฐกจิ โดยอสิ ระ
      5) เกิดการเบี่ยงเบนทางการค้า (Trade Diversion) ซึ่งเกิดขึ้นโดยการท่ีประเทศสมาชิกของกลุ่ม

เศรษฐกิจเปล่ียนแหล่งนาเข้าสินค้าชนิดหนึ่งท่ีเคยซ้ือจากประเทศท่ีไม่ใช่สมาชิก และผลิตสินค้าชนิดนั้นด้วย
ต้นทนุ ตา่ ไปยังปะเทศสมาชกิ ในกล่มุ เศรษฐกจิ เดียวกันท่ีผลิตสินคา้ นั้นด้วยตน้ ทนุ สงู กวา่

      ตวั อย่างเช่น เมอ่ื ยงั มไิ ด้เข้าเปน็ สมาชิกของกลุ่มเศรษฐกิจ ประเทศ A เคยนาเขา้ สินคา้ Y จากประเทศ
C โดยเก็บภาษีศุลกากรในอัตราร้อยละ 100 (ไม่ว่าจะนาเข้าจากประเทศใด) ต่อมาเมื่อประเทศ A มีการ
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจกับประเทศ B และมีการยกเลิกภาษีศุลกากรทุกชนิดระหว่างกัน ประเทศ A จะหันไป
นาเขา้ สนิ คา้ Y จากประเทศ B ท้งั ๆ ท่ตี น้ ทุนและราคานาเขา้ สูงกว่าประเทศ C แตเ่ นื่องจากสินค้าจากประเทศ
B ไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร จึงมีราคาขายในประเทศ A ต่ากว่าสินค้าจากประเทศ C ท่ียังต้องเสียภาษีในอัตรา
เดิม จงึ เปน็ การหนั เหทิศทางการค้าจากประเทศ (ทไี่ ม่ใชส่ มาชิก) ทมี่ ีต้นทุนการผลิตตาไปยังประเทศสมาชิกท่ี
มีตน้ ทุนการผลติ สงู ซงึ่ เป็นผลใหร้ ฐั ขาดรายได้จากภาษีศลุ กากร และยงั ทาใหก้ ารจัดสรรทรัพยากรของโลกไม่มี
ประสทิ ธภิ าพ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47