Page 46 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 46
2-2 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน2
2.1 ววิ ัฒนาการความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน
การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ เป็นแนวโน้มสาคญั ของการพฒั นาทางเศรษฐกจิ โลกตัง้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั
ในปัจจุบนั การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคตา่ งๆ (Regional Trade Agreements: RTAs) มีแนวโนม้
ขยายตวั อยา่ งต่อเน่ืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นตน้ มา โดยจากข้อมลู องคก์ ารการค้าโลก ณ เดอื นมกราคม พ.ศ.
2555 พบว่า มีการรวมกลุ่มในภูมิภาคตา่ งๆ ทีไ่ ด้แจง้ กับองคก์ ารการคา้ โลกสูงถึง 511 กลุ่ม
สาหรับกลุ่มประเทศอาเซียนน้ัน ความร่วมมือทางเศรษฐกิจทช่ี ดั เจนของอาเซยี นเพง่ิ จะเดน่ ชดั เม่อื ปี
พ.ศ. 2519 เมื่ออาเซียนได้จดั ใหม้ ีการประชมุ สุดยอดอาเซียนครัง้ แรก และผูน้ าประเทศสมาชิกได้ลงนามใน
ปฏญิ ญาวา่ ดว้ ยความสมานฉันทข์ องอาเซียน (Declaration of ASEAN Concord) ข้ึน อาทิ การจัดทา ASEAN
Preferential Trading Arrangement (PTA) ในปี พ.ศ. 2520 การลงนามความตกลงความรว่ มมือด้านการ
สารองอาหารของอาเซยี น (ASEAN Food Security Reserve) โครงการความรว่ มมือดา้ นอตุ สาหกรรมของ
อาเซยี นในภมู ิภาค เชน่ โครงการอุตสาหกรรมของอาเซียน (ASEAN Industrial Projects) โครงการความ
เกอ้ื กูลด้านอตุ สาหกรรม (ASEAN Industrial Complementation) เปน็ ตน้
อาเซียนได้พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจก้าวสาคัญไปอีกระดับหน่ึงด้วยการประกาศจัดตั้งเขต
การค้าเสรอี าเซียน (AFTA) ในปี พ.ศ. 2535 ซึ่งนับเปน็ จดุ เริ่มต้นของความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนใน
ระยะต่อมาถงึ ปัจจุบัน โดยไดม้ ีการจัดต้ังคณะมนตรีเขตการคา้ เสรีอาเซียน (AFTA Council) ภายใต้ความตกลง
ว่าด้วยการใช้อัตราภาษีพิเศษท่ีเท่ากันสาหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (Agreement of the Common
Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN) เพ่ือรับผิดชอบการดาเนินงานเขตการค้าเสรี
อาเซียน อาฟตานับเป็นความสาเร็จครั้งแรกของอาเซียนในการส่งเสรมิ การเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ
สมาชกิ โดยการยกเลิกอุปสรรคทางการคา้ ท้ังในด้านภาษี และมาตรการทไี่ มใ่ ชภ่ าษี (NTBs) ระหวา่ งกนั ปจั จบุ นั
การดาเนินงานอาฟตามีความคืบหน้าไปมากอัตราภาษีสินค้า ส่วนใหญ่ของประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6
ประเทศ (ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และบรูไน) ได้ลดมาอยู่ที่ร้อยละ 0-5 แล้วต้ังแต่ปี พ.ศ.
2546 โดยในปี พ.ศ. 2550 ประเทศอาเซียนเดิมได้ปรับลดภาษีสินค้าจานวนร้อยละ 80 ของสินค้าในบัญชีลด
ภาษีเป็น 0% แล้ว โดยสินค้าในบัญชีลดภาษีของไทยมีทั้งส้ิน 8,300 รายการ และรายการท่ีลดภาษีเป็น 0%
แลว้ มี 6,643 รายการ ทงั้ นี้ ประเทศอาเซยี นเดิมท้งั 6 ประเทศมีเป้าหมายยกเลิกภาษสี นิ คา้ ทกุ รายการเปน็ 0%
ภายในปี พ.ศ. 2553 สาหรบั ประเทศอาเซยี นใหม่ 4 ประเทศ (กัมพชู า ลาว พม่า เวยี ดนาม หรือ CMLV) มีการ
กาหนดการลดภาษีศุลกากรแตกต่างกันออกไป โดยเวียดนามลดภาษีเหลือร้อยละ 0-5 ในปี พ.ศ. 2549 ลาว
และพม่าในปี พ.ศ. 2551 และกัมพูชาภายในปี พ.ศ. 2553 และท้ัง 4 ประเทศจะต้องยกเลิกภาษีศุลกากร
สาหรับสินค้าทุกรายการให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 โดยมีความยืดหยุ่นในสินค้าบางรายการได้จนถึงปี
2561 ที่ผ่านมาการจัดต้ังอาฟตาได้ก่อให้เกิดการขยายตัวทางการค้าภายในภมู ิภาคอย่างมาก มูลค่าการค้าในปี
2536 ทีม่ มี ูลค่าเพียง 82,444 ลา้ นเหรียญสหรัฐไดเ้ พมิ่ เป็น 250,000 ล้านเหรียญสหรัฐในปี พ.ศ. 2549
เมื่อการเปิดเสรีทางการค้าได้มีความคืบหน้าไปลาดับหน่ึงจึงเกิดแนวคิดของการเปิดเสรีด้านการค้า
บริการ และการลงทุนขึ้นในปี พ.ศ. 2538 และปี พ.ศ. 2541 ตามลาดับ เพื่อสร้างจุดแข็งและเสริมสร้างขีด