Page 474 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 474

15-4	    หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ4ียน

      ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนจะทาให้อาเซยี นเปน็ ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สร้างอาเซยี นให้มีพล
วตั รและขีดความสามารถมากข้ึนดว้ ยกลไกและมาตรการใหม่ๆ ทจ่ี ะสง่ เสริมความแข็งแกร่งของการปฏิบัติตาม
แผนงานด้านเศรษฐกิจที่มีอยู่เดมิ การเร่งรัดการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจในสาขาสาคัญ การอานวยความสะดวก
ในการเคล่ือนย้ายนักธุรกิจ แรงงานฝีมือ และผู้มีความสามารถพิเศษ และเสริมสร้างความแข็งแกร่งในด้าน
กลไกสถาบันของอาเซียน โดยก้าวแรกของการมุ่งไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คือ การดาเนินงานตาม
ข้อเสนอแนะของคณะทางานระดับสูงว่าด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนตามแถลงการณ์บาหลี
ฉบบั ที่ 2

      ในขณะเดียวกัน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะให้ความสาคัญกับการลดช่องว่าการพัฒนาและ
ส่งเสริมการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกใหม่ ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม (CLMV) ผ่านความ
ร่วมมือภายใต้โครงการแผนงานกรอบความริเร่ิมเพ่ือการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN
Integration: IAI) และแผนงานในกรอบภูมิภาคอื่นๆ รวมทั้งส่งเสริมการดาเนินงานแผนความร่วมมือในด้าน
อ่ืนๆ เช่น การพัฒนาบุคลากรและการส่งเสริมขีดความสามารถ การยอมรับคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพ
การหารือท่ีใกล้ชิดมากข้ึนในเรื่องเศรษฐกิจมหภาคและนโยบายทางการเงิน มาตรการทางการค้าและการเงิน
การส่งเสริมโครงสร้างพ้ืนฐานและการเชื่อมโยงในการติดต่อสื่อสาร การพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (e-
ASEAN) การรวมกลุ่มของอุตสาหกรรมต่างๆ ในภูมิภาคเพื่อส่งเสริมการจัดซื้อในภูมิภาค และส่งเสริมการเข้า
มามีสว่ นร่วมของภาคเอกชนในการจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

      3) ความจาเป็นของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
      การรวมกลุ่มหรือจัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนับเป็นความพยายามที่สอดคล้องกับความ
เปล่ียนแปลงของบริบทโลก กล่าวคือ เน่ืองจากกระแสโลกาภิวัตน์ และแนวโน้มการทาข้อตกลงการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ มากขึ้น ทาให้อาเซียนต้องเร่งแสดงบทบาทการรวมกลุ่มด้วยความม่ันคงและ
แน่นแฟ้นมากขึ้นกว่าในอดีตท่ีผ่านมา รวมทั้งปรับปรุงการดาเนินงานระหว่างกันให้ทันต่อกระแสการ
เปล่ียนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสการแข่งขันทางการค้าและการแข่งขันเพ่ือดึงดูดการลงทุนโดยตรงท่ีมี
ความรุนแรงมากข้ึนและมีแนวโน้มจะถ่ายโอนไปสู่ประเทศเศรษฐกิจใหม่มากขึ้น เช่น จีน อินเดีย บราซิล เป็น
ต้น
      การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแกร่งทาง
เศรษฐกิจและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนในตลาดโลก เนื่องจากจะส่งเสริมให้เกิดการเปิดเสรี
การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศสมาชิกท่ีลึกซึ้งกว้างขวางมากย่ิงข้ึนทั้งในด้านการค้าสินค้า
การค้าบริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงาน รวมถึงความร่วมมือในด้านการอานวยความสะดวกทางการค้า
และการลงทุน เพ่ือลดอุปสรรคทางด้านการค้าและการลงทุนให้เหลือน้อยที่สุดซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนา
มาตรฐานการครองชีพและความกินดีอยู่ดีของประชาชนภายในประเทศ และลดช่องว่างความเหลื่อมล้า
ทางการพัฒนาระหวา่ งกนั ให้นอ้ ยลง
   469   470   471   472   473   474   475   476   477   478   479