Page 477 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 477

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559      15-7
                                          7

      กลา่ วโดยสรุปแล้ว รูปแบบการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของอาเซียนไมส่ ามารถอิงตามหลักการ/ รูปแบบ
ตามทฤษฎีที่มีอยู่ เนื่องจากเป็นการพัฒนาแนวทาง/ รูปแบบวิธีดาเนินงานของอาเซียนตามความเหมาะสมกบั
การดาเนินงานภายในของอาเซียนเอง และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนก็เป็นไปในลักษณะท่ี
ประเทศสมาชิกต่างเห็นพ้องร่วมกันท่ีจะดาเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมาย/ พันธสัญญาที่ได้ตกลงกันไว้ ซ่ึง
นบั เปน็ ส่ิงสาคญั ท่จี ะนาไปสู่ความสาเรจ็ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ทีล่ ึกซ้ึงมากข้ึน

      ในขนั้ ตอนการเร่งรัดการดาเนนิ งานรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจได้ดาเนินการในประเดน็ ตา่ งๆ ดงั นี ้
      (1) ด้านสินค้า มุ่งลดภาษีสินค้าระหว่างประเทศสมาชิกให้เป็น 0% ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010)
สาหรับสมาชิกเดิม และปี 2558 (ค.ศ. 2015) สาหรับสมาชิกใหม่ และยกเลิกมาตรการ NTBs โดยเร็ว รวมถึง
การปรบั ปรุงกฎวา่ ด้วยแหลง่ กาเนิดสนิ ค้าและใช้พิกัดอัตราศลุ กากรทีส่ อดคลอ้ งกนั
      (2) ด้านบริการ ยกเลิกข้อจากัดในการประกอบการด้านการค้าบริการในอาเซียน ภายในปี 2563
(ค.ศ. 2020)
      (3) ด้านการลงทุน เปิดให้มีการลงทุนเสรีในอาเซียนและให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติต่อนักลงทุน
อาเซยี น ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010)
      (4) ดา้ นแรงงาน ให้แรงงานฝมี ือ สามารถเคล่ือนย้ายภายในอาเซียนได้อยา่ งเสรี
      (5) ด้านเงินทุนมุ่งให้มีการไหลเวียนของเงินทุนที่เสรีมากขึ้นและเพ่ือเร่งรัดการเปิดเสรีการค้าสินค้า
และบริการให้เหน็ ผลชัดเจนขนึ้

      อาเซียนได้มุ่งเน้นประเทศสมาชิกให้ซื้อวัตถุดิบและช้ินส่วนท่ีผลิตในอาเซียน โดยกาหนดสาขาสินค้า
และบริการสาคัญ 11 สาขาทจ่ี ะดาเนินการโดยเร่งด่วน (11 Priority Sectors) ทัง้ ในดา้ นการเปดิ เสรแี ละขยาย
ความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อนาร่องการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในสาขาดังกล่าวก่อน พร้อมกาหนดประเทศ
ผู้ประสานงานหลัก (Country Coordinators) ในแต่ละสาขา ได้แก่ อินโดนีเซีย ดูแลยานยนต์และผลิตภัณฑ์
ไม้ พม่า ดูแลผลิตภัณฑ์เกษตร และผลิตภัณฑ์ประมง มาเลเซีย ดูแลผลิตภัณฑ์ยาง และส่ิงทอ เป็นต้น ซึ่งไทย
ได้รับเป็นผูป้ ระสานงานหลักในสาขาการท่องเท่ียวและการบินซึ่งสอดคล้องกบั นโยบายของรฐั บาลท่ีจะผลักดัน
ให้ไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวและการบินในภูมิภาคนี้ ในปี 2550 อาเซียนยังได้เห็นชอบให้เพิ่มสาขา
โลจสิ ตกิ ส์ เป็นสาขานารอ่ งการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจสาขาที่ 12

      ในการประชุมสุดยอดอาเซียน คร้ังที่ 9 เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2546 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
ผู้นาอาเซียนได้ประกาศแถลงการณ์บาหลี (Bali Concord II) เพื่อแสดงเจตนารมณ์ที่จะนาอาเซียนไปสู่การ
เป็น AEC ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งประกอบด้วยการดาเนินงานใน 3 ด้านหลัก คือ การเมือง เศรษฐกจิ
และสังคม โดยในด้านเศรษฐกิจจะดาเนินงานตามข้อเสนอของ HLTF เพ่ือให้บรรลุผลการเป็น AEC ภายในปี
ค.ศ. 2020 และเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียนและคานอานาจทางเศรษฐกิจของ
ประเทศที่มีศักยภาพในภูมิภาคเอเชีย อาทิ จีน และอินเดีย ในการประชมุ สุดยอดอาเซียน คร้ังท่ี 12 เม่ือเดือน
มกราคม 2550 ณ ประเทศฟิลิปปินส์ อาเซียนได้เห็นชอบท่ีจะเร่งรัดการจัดตั้ง AEC จากเดิมในปี 2563 เป็นปี
2558 โดยได้ลงนามในปฏิญญาเซบู ว่าด้วยการเร่งรัดการจัดต้ังประชาคมอาเซียนในปี 2558 (Cebu
Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community by 2015) ในชว่ ง
   472   473   474   475   476   477   478   479   480   481   482