Page 482 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 482

15-12	    หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
                                         12

และฐานการผลิตได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ จึงถือเป็นโอกาสสาคัญในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันจาก
การใช้ทรัพยากรการผลิตร่วมกัน โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ เช่น อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ สิ่งทอ
และเครื่องนุ่งห่ม และอาหาร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมต่างๆ ก็ไม่อาจหลีกเล่ียงการแข่งขันท่ีรุนแรง
ขึ้นจากการลงทุนที่เพิ่มขึ้นและสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ ตลอดจนอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของไทยมีการใช้
แรงงานที่เข้มข้น และขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะสูง รวมถึงมีต้นทุนแรงงานที่สูงข้ึนในปัจจุบัน ซ่ึงอาจเป็น
อุปสรรคตอ่ การพฒั นาและการเติบโตของอุตสาหกรรมไทยในอนาคตได้ ดังน้นั จึงควรส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการ
พัฒนาเทคโนโลยีของตนเองท่ีสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต และส่งเสริม
การใช้ประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าให้มากข้ึน อีกทั้งให้ความสาคัญกับการผลิตที่เป็นมิตรกับ
สง่ิ แวดล้อมและสรา้ งตราสินคา้ ทเ่ี ปน็ ของตนเองเพื่อเสรมิ สรา้ งศักยภาพของสนิ คา้ ของไทยในตลาดโลก

      3) ภาคการบริการ มีความสาคัญและแนวโน้มการเติบโตสูงทั้งในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ซ่ึง
ไทยได้มีแนวคิดจะพัฒนาภาคธุรกิจบริการใหเ้ ป็นศูนย์กลางในหลายๆด้าน เช่น การท่องเที่ยว ซ่ึงไทยมีจุดแข็ง
ในความหลากหลายทางชีวภาพและมีการให้บริการท่ีเป็นมิตร รวมท้ังบริการด้านการแพทย์ท่ีไทยได้รับการ
ยอมรับมาตรฐานระดับสากล ซึ่งสาขาดังกล่าวเป็นสาขาบริการท่ีไทยได้รับประโยชน์จากการเปิดเสรีภาค
บรกิ ารใน AEC อยา่ งไรกต็ าม ในปจั จบุ นั ไทยมผี เู้ ชีย่ วชาญในสาขาสาธารณสขุ โดยเฉพาะแพทยเ์ ป็นจานวนน้อย
มาก ซ่ึงอาจก่อให้เกิดการไหลทะลักเข้ามาของบุคลากรทางการแพทย์จากประเทศอาเซียนอื่นๆ ท่ีมีมาตรฐาน
เพียงพอ ขณะเดียวกัน บุคลากรของไทยก็อาจเกิดการไหลออกไปสู่ประเทศท่ีมีค่าตอบแทนสูงกว่า อย่างไรก็
ตาม แนวทางสาคัญท่ีจะช่วยผลักดันการเป็นศูนย์กลางในธุรกิจที่มีศักยภาพ รวมท้ังธุรกิจบริการอื่นในเวที
อาเซียน นั่นคือการผลักดันให้ผู้ประกอบการใช้ประโยชน์จาก AEC เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของตน ทั้ง
การศกึ ษาลทู่ างและโอกาสทางการตลาด และการลงทุนในตา่ งประเทศ ปรับปรุงการบรกิ ารให้มีคุณภาพและได้
มาตรฐานสากล หลากหลาย รวมท้ังการพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมทั้งในด้านทักษะฝีมือและทักษะภาษา
ซึ่งเปน็ ส่งิ สาคญั ในการสรา้ งจุดแข็งของตนเองเพื่อใหส้ ามารถดาเนนิ ธรุ กิจได้อย่างยงั่ ยืน

      การเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนย่อมจะส่งผลกระทบท้ังด้านบวกและลบต่อทุกภาคส่วนของ
สงั คมในมิติท่ีแตกต่างกัน ดงั น้ันประเด็นสาคัญท่ไี ทยควรเตรียมการรับมือเพื่อปรับตวั และเตรยี มความพร้อมใน
อันดับแรก คือการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและทั่วถึงให้กับทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร
ผู้ประกอบการ ข้าราชการ ประชาชนท่ัวไป รวมท้ังเด็กและเยาวชนท่ีจะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ
ต่อไป รวมทั้งการพัฒนาปัจจัยแวดล้อมภายในประเทศให้เอื้อต่อการใช้ประโยชน์จากการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจของอาเซียนอย่างเต็มท่ีท้ังด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน กฎหมาย/กฎระเบียบ ข้อมูล และบุคลากร ซ่ึงจะ
เป็นปัจจัยสาคัญในการส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นอกจากนี้ การใช้ประโยชน์จาก
การเปิดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในเชิงรุก คือการใช้โอกาสจากการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
เพ่ือสร้างความได้เปรียบด้านต้นทุนและปัจจัยการผลิตจากการย้ายฐานการผลิตและการออกไปลงทุ นใน
ประเทศอ่ืนในอาเซียน รวมถึงการเข้าไปทางานในประเทศอาเซียนอื่นของบุคลากรวิชาชีพ ซึ่งควรให้
ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะฝีมือและภาษาไปพร้อมๆกัน ทั้งนี้ ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในปี
2558 จะเป็นอปุ สรรคหรือโอกาสสาหรับประเทศไทย สง่ิ สาคัญที่สุดคือการขวนขวายและใช้ประโยชน์จากการ
เปดิ เสรีอย่างเตม็ ท่ี อนั จะเป็นก้าวสาคญั ทางเศรษฐกิจของไทยในเวทีอาเซยี นและเวทีโลกต่อไปในอนาคต
   477   478   479   480   481   482   483   484   485   486   487