Page 12 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 12

11-2 ประวัตศิ าสตร์ไทย

                        แผนการสอนประจ�ำหน่วย

ชุดวิชา		 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
หน่วยที่ 11	 เศรษฐกิจไทยสมยั รัชกาลที่ 7–พ.ศ. 2519
ตอนที่

       11.1 	 สภาพเศรษฐกิจไทยสมยั รชั กาลที่ 7-สงครามโลกคร้งั ที่ 2
       11.2 	สภาพเศรษฐกจิ ไทยหลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2-พ.ศ. 2500
       11.3	 สภาพเศรษฐกิจไทยภายใตเ้ ศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี พ.ศ. 2500-2519

แนวคิด

       1. 	ความคดิ ทางเศรษฐกจิ ตง้ั แตส่ มยั รชั กาลที่ 7–สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ประกอบดว้ ย แนวความคดิ
          ทางเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม แบบสังคมนิยม และความคิดชาตินิยมทางเศรษฐกิจ และใน
          สมยั รชั กาลท่ี 7 การนำ� เสนอความคดิ ทางเศรษฐกจิ เปน็ เรอื่ งตอ้ งหา้ ม พระองคด์ ำ� เนนิ นโยบาย
          เศรษฐกิจตามแนวทางของเสรีนิยม ส�ำหรับแนวความคิดทางเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม และ
          ความคิดชาตินิยมทางเศรษฐกิจถูกน�ำเสนอให้แก่ผู้ปกครองใหม่ช่วงหลังการเปล่ียนแปลง
          การปกครอง เพือ่ ใชเ้ ปน็ นโยบายทางเศรษฐกจิ ในระบอบใหม่

       2. 	หลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 สหรัฐอเมริกาเริ่มเข้ามามีบทบาททั้งด้านความม่ันคงและเศรษฐกิจ
          ในไทย ขณะทไี่ ทยกำ� ลงั เผชญิ กบั ปญั หาเศรษฐกจิ อนั เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากสงคราม ประกอบ
          กับปัญหาการเมืองภายใน ส่งผลให้จอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่ง
          นายกรัฐมนตรี และน�ำนโยบายเศรษฐกิจในรูปแบบทุนนิยมโดยรัฐกลับมาอีกคร้ัง โดยใช้
          “รัฐวิสาหกิจ” เป็นกลไกของการขับเคล่ือนเศรษฐกิจและรักษาเสถียรภาพทางการเมือง
          ผลการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ท�ำให้การผลิตภายในภาคการเกษตรมีการปรับตัวและ
          เกดิ การเตบิ โตของธนาคารพาณิชย์ไทย

       3. 	ทศวรรษ 2500 เข้าส่ยู ุคทีเ่ รยี กกนั ว่าสมัยแหง่ การพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
          เสรีภายใต้การน�ำของจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกา
          แนวคิดทางเศรษฐกิจดังกล่าวปรากฏออกในรูปแบบของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
          แห่งชาติ ซ่ึงเป็นกรอบในการพัฒนาประเทศตามแนวทางเศรษฐกิจเสรีทุนนิยม จัดล�ำดับ
          การลงทุนของภาครัฐ โดยมุ่งให้เศรษฐกิจขยายตัวโดยรัฐเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนและเอกชน
          เป็นผผู้ ลิต
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17