Page 69 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 69

เศรษฐกจิ ไทยสมยั รัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-59
       จะเห็นได้ว่า นับต้ังแต่ประเทศไทยเร่ิมด�ำเนินการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 1-3
(พ.ศ. 2504-2519) แต่ละแผนมีวัตถุประสงค์และเน้นแนวนโยบายท่ีต่างไปตามสถานการณ์ และความ
ตอ้ งการทางเศรษฐกจิ ของประเทศในชว่ งเวลานั้นๆ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 1-2 มุ่งเนน้ การเจริญเตบิ โตของ
ผลผลติ รวม ทางภาครฐั มงุ่ อำ� นายความสะดวกดว้ ยโครงการลงทนุ ทใี่ หบ้ รกิ ารขนั้ พน้ื ฐาน โดยเฉพาะบรกิ าร
ดา้ นสาธารณูปโภคและการคมนาคมขนส่ง การก่อสร้างถนน การกอ่ สร้างเขื่อนเพือ่ ขยายกำ� ลงั ผลติ ไฟฟ้า
และเพื่อการชลประทาน เป็นต้น ขณะที่การขยายก�ำลังการผลิตเป็นเรื่องของภาคเอกชน โดยรัฐให้การ
สง่ เสรมิ การลงทนุ เพ่อื กิจการอุตสาหกรรม ในระยะน้ันกิจการอตุ สาหกรรมทข่ี ยายตัวมากคอื การผลิตเพ่อื
ทดแทนการน�ำเข้าและการอุปโภคบริโภคภายในประเทศ ส่วนภาคเกษตรมีการผลิตเพิ่มขึ้น แต่เป็นผล
มาจากการขยายพืน้ ทเ่ี พาะปลกู ตามการคมนาคมทสี่ ะดวกข้นึ มิใชเ่ กดิ จากการเพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ
เกดิ การบกุ รุกทำ� ลายพ้นื ทีป่ ่าไมแ้ ละส่ิงแวดลอ้ มอย่างรนุ แรงในระยะตอ่ มา จนมาถึงระยะของแผนพัฒนาฯ
ฉบับท่ี 3 ยังคงเน้นการผลิตโดยภาคเอกชน แต่เร่ิมให้การสนับสนุนการผลิตเพ่ือการส่งออกควบคู่ไปกับ
นโยบายเพื่อทดแทนการน�ำเขา้
       ทว่าในชว่ งเวลาของการเร่มิ ใชแ้ ผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 3 เศรษฐกจิ ไทยเริ่มประสบปัญหาและรุนแรง
ข้นึ ตามลำ� ดบั นับต้ังแต่ พ.ศ. 2516 เป็นตน้ มา เร่ิมจากปัญหาเรื่องราคานำ�้ มนั ในตลาดโลก ปญั หาเงินเฟอ้
ทวั่ โลก คา่ เงนิ ดอลลารส์ หรฐั ลดลง เกดิ วกิ ฤตการณท์ างการเงนิ และการคา้ ตา่ งประเทศ การทส่ี หรฐั อเมรกิ า
ถอนก�ำลังทหารออกจากเวียดนามและลดค่าใช้จ่ายทางด้านการทหาร ประกอบกับนานาประเทศมุ่ง
แก้ปัญหาเศรษฐกิจภายในของตน ท�ำให้ไทยต้องปรับเปล่ียนมาตรการและกลยุทธ์หลายด้าน เพ่ือรักษา
เสถยี รภาพของประเทศทา่ มกลางมรสมุ เศรษฐกจิ แทนทจี่ ะมงุ่ เนน้ ความเจรญิ เตบิ โตของกำ� ลงั การผลติ และ
รายไดร้ วมของประเทศ (ซงึ่ ทำ� ใหค้ วามแตกตา่ งของรายไดใ้ นหมปู่ ระชากรและระหวา่ งประเทศเพมิ่ สงู ขน้ึ )98
       ดงั น้ัน ภายหลงั จากส้นิ สดุ แผนพัฒนาฉบบั ที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) จึงเหน็ ถึงการปรับตัวของการ
ดำ� เนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยอกี ครง้ั หนงึ่ การเรม่ิ ตน้ ภายใตแ้ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 4 (2520-
2524) คือหันมาให้ความส�ำคัญกับการกระจายรายได้และการขยายการบริการทางสังคมในส่วนภูมิภาค
และท้องถ่นิ พร้อมทัง้ กำ� หนดเป้าหมายท่จี ะพฒั นาอตุ สาหกรรมหลักเป็นพิเศษ

         98 นวพร เรอื งสกลุ . เร่อื งเดียวกัน. น. 310.
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74