Page 67 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 67

เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลที่ 7–พ.ศ. 2519 11-57
           ตารางที่ 11.4 องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ

           เกษตร                     อุตสาหกรรม*                                       บริการ**

พ.ศ. 2503  39.8                      18.6                                              41.7
พ.ศ. 2508  34.8                      22.7                                              42.5
พ.ศ. 2513  25.9                      25.3                                              48.8
พ.ศ. 2518  26.9                      25.8                                              47.8
พ.ศ. 2523  23.2                      31.0                                              45.8
พ.ศ. 2528  16.7                      34.0                                              49.3
พ.ศ. 2533  12.4                      39.2                                              48.4

ท่ีมา:	 สมชาย ภคภาสน์วิวฒั น์. เร่อื งเดียวกัน. น. 90.
	 *อุตสาหกรรม-รวมอตุ สาหกรรมการผลิต กอ่ สร้าง เหมอื งแร่ ไฟฟา้ และน้�ำประปา
	 **บริการ-รวมขนสง่ คมนาคม การค้า ธนาคาร อสังหาริมทรัพย์ ราชการ และการปอ้ งกนั ประเทศ

       อุตสาหกรรมท่ีมีอัตราขยายตัวสูง ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-2 คือ อุตสาหกรรมส่ิงทอ
อันประกอบด้วย อุตสาหกรรมปั่นด้าย ผลิตเส้นใย ทอผ้า และเส้ือผ้าส�ำเร็จรูป อุตสาหกรรมอาหารสัตว์
และอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น้�ำเพื่อส่งออก ตลอดจนอุตสาหกรรมผลไม้และพืชผักกระป๋องก็มีการขยาย
ตัวอยา่ งรวดเร็ว รวมทง้ั อุตสาหกรรมออ้ ย นำ้� ตาล และอตุ สาหกรรมเดิม เช่น โรงสี และโรงเลอ่ื ย ตลอดจน
ไซโลกม็ กี ารขยายตวั และพฒั นา94

       ในการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2500 ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากนโยบาย
ทดแทนการนำ� เขา้ ซงึ่ ถอื เปน็ กลยทุ ธเ์ รม่ิ แรกในการสง่ เสรมิ และพฒั นาอตุ สาหกรรมของไทยภายใตร้ ฐั บาล
ของจอมพลสฤษด์ิ คือ การเน้นผลิตสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการน�ำเข้า กลไกส�ำคัญในการ
ด�ำเนนิ การคือการใหส้ ิทธพิ ิเศษโดยผา่ นคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทุน (บีโอไอ-BOI) โดยมีมาตรการ
สง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมทสี่ ำ� คญั คอื การใหส้ ทิ ธพิ เิ ศษดา้ นภาษแี กอ่ ตุ สาหกรรมทไ่ี ดร้ บั อนมุ ตั ิ ตลอดจนปกปอ้ ง
ด้วยการเพ่ิมก�ำแพงภาษีส�ำหรับสินค้าน�ำเข้าท่ีจะแข่งกับอุตสาหกรรมที่ได้รับการส่งเสริม และยังมีการใช้
ภาษกี ารคา้ เปน็ กลไกการปกปอ้ งอตุ สาหกรรมดงั กลา่ วอกี ดว้ ย แรงจงู ใจดงั กลา่ วทำ� ใหธ้ รุ กจิ ของภาคเอกชน
ในสว่ นทไี่ ดร้ บั การสง่ เสรมิ ขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอตุ สาหกรรมทเ่ี กย่ี วกบั สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค95

       จะเหน็ ได้วา่ สนิ ค้าประเภทดงั กลา่ วที่เคยมสี ดั สว่ นร้อยละ 69.2 ในโครงสรา้ งอตุ สาหกรรมรวมใน
ปี พ.ศ. 2494 ไดข้ ยายตวั เพมิ่ เปน็ สดั สว่ นรอ้ ยละ 77 ในปี 2503 และนำ� ไปสกู่ ารขยายตวั ของสนิ คา้ อปุ โภค
บรโิ ภคตามการสง่ เสรมิ โดยผา่ นกรอบของบโี อไอ แตไ่ มไ่ ดม้ สี ว่ นชว่ ยผลกั ดนั ในดา้ นการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การผลติ นอกจากน้ี ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ การขยายตวั ของการนำ� เขา้ สนิ คา้ ขนั้ กลางและสนิ คา้ ประเภททนุ เพอ่ื ใชใ้ น

94 เร่อื งเดยี วกัน. น. 22 และ 26.	
95 เรือ่ งเดียวกัน. น. 23-25.
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72