Page 63 - ประวัติศาสตร์ไทย
P. 63
เศรษฐกิจไทยสมัยรัชกาลท่ี 7–พ.ศ. 2519 11-53
ในระหว่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 และฉบับที่ 3 ได้ด�ำเนินการตามโครงการก่อสร้างและบูรณะ
ทางหลวง 7 ปี (พ.ศ. 2508-2514) โดยโครงการนี้ก�ำหนดเป้าหมายในก่อสร้างบูรณะทางหลวงแผ่นดิน
109 สาย และทางหลวงจงั หวดั 120 สาย โดยใชง้ บประมาณ 11,965 ล้านบาท และโครงการกอ่ สร้างและ
บรู ณะทางหลวง 5 ปี (2515-2519) ใชง้ บประมาณ 10,009.19 ล้านบาท เมอื่ สน้ิ สุดโครงการรวมระยะทาง
แลว้ เสรจ็ ทงั้ ทางหลวงแผน่ ดนิ และทางหลวงจงั หวดั 10,349 และ 6,465.9 กโิ ลเมตรตามลำ� ดบั ทำ� ให้ “ระบบ
ถนน” หรือระบบทางหลวงครอบคลุมและเชอื่ มโยงพ้นื ท่ีทว่ั ประเทศ นบั เปน็ การยุติการคมนาคมทางนำ�้ ที่
ด�ำเนินมานานนับศตวรรษในสังคมไทย90 อีกทั้งระบบถนนดังกล่าวเป็นปัจจัยส�ำคัญในการกระตุ้นการ
พัฒนาเศรษฐกิจทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะในการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกและ
ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางขนสง่ พืชไร่เพือ่ การคา้ เป็นต้น
ภาพที่ 11.6 ทางหลวงสายกรุงเทพฯ-หนองคาย หรือ ถนนมิตรภาพ ยุคแรกของสมัยแห่งการพัฒนา
ท่ีมา: นติ ยสารเสรภี าพ (ฉบบั ท่ี 113, พ.ศ. 2508) อา้ งถงึ ใน เรอ่ื งราวในอดตี ของถนนมติ รภาพ: กรงุ เทพฯ-หนองคาย ใน 8 ชว่ั โมง.
จาก http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=owl&month=09-2010&date=25&group=1&gblog=13 สบื คน้ เมอื่
12 มนี าคม 2560.
90 อำ�พกิ า สวัสดิ์วงศ์. เรอ่ื งเดียวกนั . น. 39-40.