Page 52 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 52

6-42 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดล้อมเพื่อชวี ติ
       เปลือกและเนือ้ สว่ นบนเป็นของแขง็ เรยี กวา่ ธรณีภาค หรอื ลโิ ธสเฟียร์ (Lithosphere) เน้อื ซึง่ อยู่

ส่วนล่างของลิโธสเฟียร์เป็นของหนืดหรือแมกมา (Magma) ในกรณีของโลกจะมีลิโธสเฟียร์ท่ีแยกออก
จากกันเป็นแผ่นๆ เรียกว่า แผน่ ธรณีภาค ซง่ึ เคลื่อนทจี่ ากการไหวตวั ของหนิ หนืดใต้ลิโธสเฟยี ร์ จนท�ำให้
เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ บนผิวโลก เช่น ทวีปเลื่อน ภูเขาสูง ภูเขาไฟ สันเขาใต้ทะเลลึกบริเวณก่ึงกลาง
มหาสมุทรแอตแลนติกจากเหนือมาใต้ ท่ีเรียกว่า สันเขาก่ึงกลางมหาสมุทรแอตแลนติก (Mid-Atlantic
ridge)

       เป็นที่น่าสังเกตว่าโลกและดาวศุกร์มีโครงสร้างภายในคล้ายกันมาก โดยมีขนาดของแก่นเกือบ
เท่ากนั และมลี ิโธสเฟียร์ที่บาง ส่วนดาวองั คารมีลิโธสเฟียรท์ ่ีหนาท�ำใหเ้ นือ้ ซง่ึ หนดื อยใู่ ตล้ ิโธสเฟยี ร์มขี นาด
เลก็ ลง ในขณะทีด่ าวพุธและดวงจันทรไ์ มม่ ีเนอื้ หนืดใต้ลโิ ธสเฟียร์ แสดงว่าดาวพธุ และดวงจนั ทรไ์ ม่มแี ผ่น
ธรณภี าคจึงเปน็ ดาวเคราะหท์ ี่ตายแลว้ สำ� หรับดาวพุธมีลกั ษณะพเิ ศษแตกตา่ งจากดาวเคราะหห์ นิ ดวงอ่ืน
อีกประการหน่ึง คือ มีแก่นที่โตมาก โดยแก่นของดาวพุธกินบริเวณถึงร้อยละ 42 ของปริมาตรท้ังหมด
เทียบกับร้อยละ 16 ส�ำหรับโลกร้อยละ 12 ส�ำหรับดาวศุกร์ ร้อยละ 9 ส�ำหรับดาวอังคาร และร้อยละ 4
ส�ำหรับดวงจันทร์ ด้วยเหตุน้ีดาวพุธจึงมีความหนาแน่นเกือบสูงสุดในระบบสุริยะดังตารางความหนาแน่น
ของดาวเคราะหห์ ินต่อไปน้ี

     ดาวเคราะห์  ความหนาแน่น (กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือตัน/ลูกบาศก์เมตร)
โลก                                       5.52
ดาวพธุ                                    5.43
ดาวศกุ ร์                                 5.24
ดาวอังคาร                                 3.94
ดวงจันทร์                                 3.34

       เปรียบเทียบโครงสรา้ งดาวเคราะหย์ ักษท์ ้งั 4 ดวง พบวา่
       ดาวพฤหัสบดแี ละดาวเสาร์มีโครงสรา้ งภายในแบบเดยี วกัน ในกรณขี องดาวพฤหัสบดมี แี ก่นเป็น
ของแขง็ ประกอบด้วยโลหะ หนิ และสารประกอบไฮโดรเจน ลอ้ มรอบแกน่ เปน็ เน้ือชน้ั ในซึ่งเป็นไฮโดรเจน
ล้วนๆ โดยอยู่ในรูปของโลหะไฮโดรเจนเน่ืองจากทุกอะตอมของไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอนอิสระร่วมกัน จึง
แสดงสมบตั เิ ปน็ ตวั นำ� ไฟฟา้ ดงั โลหะ สภาวะนเี้ กดิ ได้ ณ ความดนั ประมาณ 2 ลา้ น ถงึ 100 ลา้ นบรรยากาศ
และอณุ หภมู ริ ะหว่าง 5,000 ถึง 20,000 เคลวิน ทำ� ใหโ้ ลหะไฮโดรเจนมีความหนาแน่นอยรู่ ะหวา่ ง 1 ถงึ 4
กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร) เหนือระดับโลหะไฮโดรเจนคือไฮโดรเจนเหลว
ซง่ึ มีความหนาแนน่ ระหวา่ ง 0.5 ถงึ 1.0 กรมั /ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ภายใต้ความดนั 0.5 ล้านถงึ 2 ลา้ น
บรรยากาศ และอุณหภมู ิระหวา่ ง 2,000 ถึง 5,000 เคลวนิ เหนอื ระดบั ไฮโดรเจนเหลวเป็นก๊าซไฮโดรเจน
และเมฆ อุณหภูมริ ะดบั นี้ต่าํ เพียง 125 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ และความหนาแน่น 0.0002 กรมั /
ลกู บาศก์เซนติเมตร
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57