Page 49 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 49
เอกภพและระบบสุรยิ ะ 6-39
การยุบตัวลงของเนบิวลากลายเป็นแก่นกลางของดาวเคราะห์ยักษ์ เป็นข้อสนับสนุนค�ำอธิบายท่ี
วา่ ท�ำไมดวงอาทติ ย์ ดาวพฤหสั บดี และดาวเสารจ์ งึ มไี ฮโดรเจนเปน็ องคป์ ระกอบมากทส่ี ดุ สว่ นดาวยเู รนสั
และดาวเนปจนู มสี ดั สว่ นของไฮโดรเจนและฮเี ลยี มนอ้ ยกวา่ ดาวพฤหสั บดแี ละดาวเสาร์ แตก่ ลบั มนี า้ํ แขง็ และ
แกน่ กลางที่เปน็ หนิ แขง็ มากกวา่
3. การเกิดดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง
ดาวเคราะหน์ อ้ ยเปน็ กอ้ นของแขง็ ทมี่ ขี นาดตา่ งกนั ดวงใหญท่ สี่ ดุ มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางไมถ่ งึ 1,000
กิโลเมตร จะมีขนาดเล็กลงและจ�ำนวนเพิ่มขึ้นเมื่อเกิดการชนกับแล้วแตกสลาย ดาวเคราะห์น้อยเป็น
เศษเหลือจากก�ำเนิดดาวเคราะห์หินทั้ง 4 ในช่วงหลายล้านปีแรกของก�ำเนิดดาวเคราะห์ช้ันในอาจมี
ดาวเคราะห์น้อยหลายดวงที่มีขนาดใหญ่เท่าดาวพุธหรือดาวอังคารและวิ่งด้วยความเร็วสูงอยู่ในบริเวณน้ี
จนเกดิ ชนกนั อยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ การชนอยา่ งรนุ แรงมากกบั โลก ทำ� ใหแ้ กนโลกเอยี งและชนิ้ สว่ นของโลก
หลุดออกไปรวมกับช้ินส่วนของดาวท่ีมาชนกลายเป็นดวงจันทร์ นอกจากนี้การชนดาวศุกร์อย่างรุนแรง
ท�ำให้ดาวศุกร์หมุนสวนทางกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ในกรณีของดาวพุธคาดว่าคงโดนดาวเคราะห์น้อยชน
อย่างรุนแรงมาแล้วเชน่ เดียวกัน
โดยเหตุท่ียุคแรกของการเกิดดาวเคราะห์น้ันมีดาวเคราะห์น้อยเป็นจ�ำนวนมากกว่าในปัจจุบัน
ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่จึงดึงดาวเคราะห์น้อยเข้าหา หรือดาวเคราะห์น้อยวิ่งเข้าชนดาวเคราะห์จนเกิด
หลมุ บอ่ มากมายดงั ที่ปรากฏบนดวงจันทร์ ดาวพุธ ดาวองั คาร รวมท้ังโลก ตอ่ มาจำ� นวนดาวเคราะห์นอ้ ย
ลดลง สว่ นใหญถ่ กู แรงโนม้ ถว่ งของดาวเคราะหก์ วาดจนเกอื บหมด สว่ นใหญท่ เี่ หลอื ไปอยใู่ นวงโคจรระหวา่ ง
วงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี ซึ่งเป็นวงโคจรที่ถูกรบกวนจากดาวเคราะห์ดวงใหญ่น้อยท่ีสุด
ดาวเคราะหน์ อ้ ยสว่ นใหญ่ในปัจจบุ ันจึงอยบู่ รเิ วณนี้
สำ� หรบั ดาวหางเปน็ กอ้ นนาํ้ แขง็ สกปรก เปน็ เศษเหลอื จากการสรา้ งดาวเคราะหย์ กั ษ์ และถกู ผลกั ดนั
จากความดันของการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ให้ออกไปอยู่รอบนอกของระบบสุริยะตรงบริเวณท่ีเรียกว่า
“ดงดาวหางของออร์ต” (Oort's Comet cloud) ซ่งึ อยู่ทีร่ ะยะหา่ งประมาณ 50,000 เอยจู ากดวงอาทติ ย์
คาดว่ามีดาวหางจ�ำนวนล้านล้านดวงในดงดาวหางของออร์ต ใกล้เข้ามาระหว่างดงดาวหางของออร์ตกับ
บรเิ วณทดี่ าวเคราะหอ์ ย่จู ะมีดาวหางเป็น 10 ลา้ นลา้ นดวง ดังนัน้ ในระบบสรุ ิยะจึงมดี าวหางไมต่ ํา่ กว่า 10
ล้านล้านดวง หากค�ำนวณโดยใช้ขนาดเฉลี่ยของดาวหางแต่ละดวงเป็น 10 กิโลเมตรจะได้มวลดาวหาง
ท้ังหมดในระบบสุริยะอยา่ งนอ้ ย 100 เทา่ ของโลก
ดาวหางสามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ กต็ อ่ เมอื่ ดาวหางโคจรเขา้ มาใกลด้ วงอาทติ ยม์ ากๆ เทา่ นนั้
ความร้อนและพลังงานจากดวงอาทิตย์จะท�ำให้ส่วนนอกของใจกลางหัวดาวหางกลายเป็นก๊าซเป็นฝุ่นท่ี
สะท้อนแสงอาทิตย์และเรอื งแสงพอทจี่ ะสังเกตได้จากโลก