Page 87 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 87
เอกภพและระบบสุริยะ 6-77
ทางโคจรของดาวหาง
(a) ดวงอาทติ ย์
(b)
(c)
ภาพที่ 6.52 การเกิดฝุ่นของดาวหางที่กระจายในทางโคจร (a) ฝุ่นอยู่ใกล้ดาวหาง
(b) เมื่อเวลาผ่านไปฝุ่นกระจายทั้งน�ำหน้าและตามหลังดาวหาง และ
(c) เป็นวงบรรจบในท่ีสุด
3. ปรากฏการณ์ที่เกิดจากบรรยากาศของโลก
ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ จากบรรยากาศของโลก เชน่ วันอิควินอกซ์ หรอื วษิ วุ ตั ตรงกบั วนั ที่ 21 มนี าคม
และ 23 กนั ยายน หมายถงึ วนั ทกี่ ลางวนั กลางคนื ยาวเทา่ กนั ดวงอาทติ ยข์ น้ึ ตรงจดุ ทศิ ตะวนั ออกพอดี และ
ตกตรงจุดทิศตะวันตกพอดี หากจับเวลาตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นถึงตกพบว่ากลางวันยาวไม่เท่ากับกลางคืน
โดยกลางวนั ยาวกวา่ กลางคนื หลายนาที ความแตกตา่ งของชว่ งเวลากลางวนั กบั กลางคนื กไ็ มเ่ ทา่ กนั ทงั้ โลก
แตข่ นึ้ อย่กู บั ละติจดู สำ� หรบั ละตจิ ูดกลางประเทศไทย (15o เหนือ) ในวนั ที่ 21 มีนาคม หรือ 23 กนั ยายน
จะสามารถคำ� นวณไดว้ า่ เวลากลางวันยาวนานกว่าเวลากลางคนื ประมาณ 7 นาที
การทก่ี ลางวนั ยาวกว่ากลางคืนในวันอิควนิ อกซ์ เกิดจากสาเหตดุ งั ต่อไปนี้
1) ดวงอาทิตย์ปรากฏมีขนาดใหญ่ มเี สน้ ผา่ นศนู ย์กลางเชงิ มุมประมาณ 1/2 องศา กลางวันจึง
เรมิ่ ตง้ั แตข่ อบบนหรอื ขอบตะวนั ตกของดวงอาทติ ยอ์ ยทู่ ข่ี อบฟา้ ตะวนั ออก และสนิ้ สดุ เมอ่ื ขอบบนหรอื ขอบ
ตะวนั ออกของดวงอาทติ ยอ์ ยทู่ ขี่ อบฟา้ ตะวนั ตก นนั่ คอื ขนาดปรากฏของดวงอาทติ ย์ ทำ� ใหไ้ ดเ้ วลากลางวนั
เพมิ่ ขึน้ อย่างน้อยเท่ากบั โลกหมนุ เป็นมมุ ประมาณ 1 องศา ซึ่งเท่ากบั เวลาประมาณ 4 นาท ี