Page 85 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 85
ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทรแ์ รม 15 คา่ํ น้ําเกิด เอกภพและระบบสรุ ยิ ะ 6-75
ด้านดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทรข์ ึ้น 15 ค่าํ
น้ําตาย
ดวงจันทร์ แรม 7-8 คาํ่
ดวงอาทิตย์ ดา้ นดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์ ขนึ้ 7-8 คํ่า
ภาพท่ี 6.51 น้ําขึ้นน้ําลงบนโลก
2. ปรากฏการณ์ท่ีเกิดในระบบสุริยะ
ส่ิงที่เราเห็นด้วยตาเปล่าเป็นประจ�ำของวัตถุท้องฟ้าในระบบสุริยะ คือ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
ดาวเคราะห์ 5 ดวง และดาวตก บางครั้งมีดาวตกจ�ำนวนมาก เรียกว่า ฝนดาวตก ฝนดาวตกเกิดจาก
เหตุใดและบรรยากาศโลก รวมท้ังขนาดของดวงอาทิตย์ท�ำให้กลางวันยาวกว่ากลางคืนในวันวิษุวัตได้
อยา่ งไร จะหาคำ� ตอบไดด้ งั ต่อไปนี้
ฝนดาวตก เป็นก้อนวัตถุแข็งขนาดเล็กต่างๆ กัน ถูกโลกดึงให้ตกลงมา ขณะที่ผ่านบรรยากาศ
โลกที่ความสูงประมาณ 80 กโิ ลเมตร วตั ถแุ ขง็ จะเสยี ดสีกับบรรยากาศโลกจนลุกสว่างเปน็ แสงวูบวาบพุ่ง
เป็นทางยาว แล้วหายไปในเวลา 2-3 วินาที สว่ นมากจะถูกเผาไหม้หมดไม่เหลือตกลงมาถึงพ้นื โลก หาก
มดี าวตกจ�ำนวนมากในคนื หนงึ่ ๆ โดยดคู ล้ายกบั ว่าดาวตกแต่ละดวงออกมาจากจดุ กำ� เนดิ เดียวกันในกลมุ่
ดาวใดกลุ่มดาวหน่งึ เราเรียกว่าฝนดาวตก ตามชอ่ื เรียกตามกล่มุ ดาวนนั้ ๆ
สาเหตขุ องฝนดาวตกคอื ดาวหาง หางและหวั ของดาวหางเปน็ กา๊ ซ ฝนุ่ และกอ้ นหนิ ทอ่ี อกมาจาก
ใจกลางหวั ดาวหาง ซง่ึ ไมส่ ามารถดงึ กลบั ใหเ้ ขา้ ไปอยทู่ ใี่ จกลางหวั ไดอ้ กี อาจรวมเรยี กวา่ “ขยะจากดาวหาง”
ซ่ึงจะอยู่ในทางโคจรของดาวหาง ระยะแรกจะเกาะกลุ่มกันอยู่ใกล้ๆ ใจกลางหัวดาวหาง ต่อมาบางส่วน
เคล่ือนที่น�ำหน้าใจกลางหัวและบางส่วนว่ิงตามหลัง พอนานเข้าก็กระจายไปตลอดทางโคจร ทุกครั้งที่
ดาวหางเขา้ ใกลด้ วงอาทติ ย์ ปรมิ าณขยะจากดาวหางกเ็ พม่ิ มากขนึ้ หากทางโคจรของดาวหางผา่ นใกลห้ รอื
ตัดกบั ทางโคจรของโลก โลกจะดงึ ขยะพวกนีใ้ หต้ กลงมาถกู เผาไหมใ้ นบรรยากาศเปน็ ฝนดาวตก
ตัวอย่างเช่น ในคืนวันที่ 17-18 พฤศจิกายนทุกปี จะเห็นฝนดาวตกท่ีดูคล้ายกับว่าแต่ละดวงมา
จากบริเวณหัวของสิงโตในกลุ่มดาวสิงโต ฝนดาวตกวันที่ 17-18 พฤศจิกายน จะมีชื่อว่าฝนดาวตกสิงโต
(Leonids) ฝนดาวตกสงิ โต เกิดจากขยะของดาวหางเทมเปล-ทัตเทิล (Temple-Tuttle) ซึ่งมีทางโคจร
ตัดกับทางโคจรของโลกในวันที่ 18 พฤศจิกายน ดาวเคราะห์น้อยบางดวงท�ำให้เกิดฝนดาวตกได้