Page 88 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 88
6-78 วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื ชวี ติ
ขอบบนหรอื ขอบตะวันออก
ตก ของดวงอาทิตย์
ใต้ เหนอื
ขอบบนหรือขอบ ออก
ตะวนั ตกของ
ดวงอาทติ ย์
ภาพท่ี 6.53 เส้นทางข้ึน-ตกของดวงอาทิตย์ในวันที่ 21 มีนาคม หรือ 23 กันยายน
2) บรรยากาศโลกหักเหแสง ชว่ ยพยงุ ใหเ้ หน็ ดวงอาทติ ยก์ อ่ นทผ่ี วิ จะแตะขอบฟา้ ถา้ พจิ ารณาทงั้
ขาขนึ้ และขาตกของดวงอาทติ ย์ บรรยากาศโลกจะชว่ ยใหเ้ หน็ ดวงอาทติ ยไ์ ดม้ ากกวา่ โลกทไ่ี มม่ บี รรยากาศ
ขอบฟา้
โลก S'
S
ภาพท่ี 6.54 ดวงอาทิตย์สูงข้ึน เพราะการหักเหของแสงในบรรยากาศ
O คือผู้สังเกตบนโลก
S คือดวงอาทิตย์จริง
S' คือดวงอาทิตย์ปรากฏ
3) ต�ำแหน่งบนโลกของผู้สังเกต เนอ่ื งจากเสน้ ทางขน้ึ ตกของดวงอาทติ ยเ์ อยี งจากแนวตง้ั ฉากกบั
ขอบฟ้าเป็นมุมเท่ากับละติจูดของผู้สังเกต ความเอียงของเส้นทางข้ึนตกมากข้ึนเม่ืออยู่ห่างเส้นศูนย์สูตร
มากขึ้น ทำ� ใหม้ ีโอกาสเห็นดวงอาทติ ยไ์ ด้กอ่ น