Page 73 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 73
การสอ่ื สารชุมชนกบั การพัฒนาสตรใี นชมุ ชน 9-63
การเคลอื่ นไหวของกลมุ่ อญั จารใี ชก้ ารสอ่ื สารขอ้ มลู ตอ่ สาธารณะโดยการสรา้ งพนื้ ทข่ี องกลมุ่ จดั เวที
อภปิ ราย การใหส้ มั ภาษณก์ บั สอ่ื มวลชน การเขยี นบทความลงในสอื่ สงิ่ พมิ พ์ ขณะเดยี วกนั กท็ ำ� งานรว่ มกบั
กลุม่ และองค์กรอ่นื ๆ ในการเคล่อื นไหวในเรอ่ื งสิทธดิ า้ นตา่ งๆ ส่อื มวลชนเป็นช่องทางสำ� คัญทกี่ ล่มุ อัญจารี
ใช้ส่ือสารกับคนท่ัวไป แต่มีข้อจ�ำกัดท่ีต้องเสี่ยงกับการตีความที่ผิดพลาด หรือการน�ำเสนอเร่ืองราวที่
บดิ เบอื นขอ้ เทจ็ จรงิ ดงั นนั้ กลมุ่ ฯ จงึ ตดั สนิ ใจทำ� สอ่ื ของตนเองในนาม “อญั จารสี าร” ตอ่ มาไดข้ ยายไปสสู่ อ่ื
อินเทอร์เนต็ www.anjaree.com
กลา่ วไดว้ า่ สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ เปดิ โอกาสใหก้ บั กลมุ่ คนทม่ี อี ำ� นาจนอ้ ยอยา่ งกลมุ่ ผมู้ เี พศสภาวะทห่ี ลาก
หลาย ไดใ้ ชเ้ ปน็ พน้ื ทใี่ นการแสดงความคดิ เหน็ และอธบิ ายความเปน็ ตวั ตนใหค้ นในสงั คมไดเ้ ขา้ ใจ นอกจากน้ี
ยังเป็นสื่อกลางในการชักน�ำให้กลุ่มได้มาพบปะกัน บุญญาภรณ์ วาณิชยชาติ (2544) วิเคราะห์ว่า เมื่อ
เปรียบเทียบส่ือใหม่อย่างเว็บไซต์อัญจารีดอทคอมกับสื่อเดิมอย่างอัญจารีสาร จะเห็นได้ว่า วารสารมี
ขอ้ จำ� กดั มากกวา่ เวบ็ ไซตห์ ลายดา้ น กลา่ วคอื การเขา้ ถงึ วารสารอญั จารสี าร ผทู้ ร่ี บั วารสารไปอา่ นตอ้ งเปดิ
เผยตวั ตนในระดบั หนง่ึ เชน่ ตอ้ งบอกชื่อ ท่อี ยู่ และแสดงบัตรประชาชน ท�ำใหห้ ญงิ รกั หญิงส่วนใหญท่ ไี่ ม่
เปิดเผยตัวไม่กล้าท่ีจะรับวารสาร เนื่องจากกลัวผู้อื่นรู้ถึงความเป็นหญิงรักหญิงของตน ขณะท่ีส่ือ
อินเทอร์เน็ตสามารถท่ีจะปกปิดตัวตนของผู้ใช้ได้ และยังสามารถแสดงอัตลักษณ์ของตนเองได้ในสื่อ
อินเทอรเ์ น็ตอกี ด้วย
นอกจากน้ี สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ มคี ณุ ลกั ษณะทเี่ ปน็ การสอ่ื สารแบบสองทาง (two-way communica-
tion) ยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ ใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ มภายในเวบ็ ไซตม์ ากขนึ้ ดงั นน้ั เวบ็ ไซตอ์ ญั จารดี อทคอมจงึ เปน็ มณฑล
สาธารณะใหก้ บั กลมุ่ หญงิ รกั หญงิ ไดใ้ นเรอื่ งทว่ั ๆ ไป และเรอื่ งความสนใจเฉพาะกลมุ่ ทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความ
สัมพันธ์เชิงอ�ำนาจหรือการเมืองระหว่างเพศ ซึ่งแม้ว่าผู้ใช้เว็บไซต์จะมีการรับรู้ถึงเสรีภาพและความเสมอ
ภาคในการแสดงความคิดเห็น แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มองไม่เห็นความส�ำคัญถึงสิทธิและเสรีภาพของตนเอง
เว็บไซต์อัญจารีดอทคอมจึงยังไม่สามารถท่ีจะก่อให้เกิดบรรยากาศของการแสดงความคิดเห็นจนเกิดเป็น
ขอ้ สรปุ ข้อเสนอแนะที่จะท�ำให้เกิดพลังในการต่อสู้ หรือเรียกรอ้ งเพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กก่ ลุ่มไดเ้ ทา่ ทค่ี วร
ทง้ั นเ้ี นอ่ื งจากผใู้ ชท้ เี่ ปน็ หญงิ รกั หญงิ สว่ นใหญไ่ มไ่ ดม้ เี ปา้ หมายเพอื่ เรยี กรอ้ งสทิ ธิ แตเ่ ขา้ มาใชเ้ พอ่ื สนบั สนนุ
ในความเป็นตัวตนของตนเอง เพ่ือแสวงหาความสมั พันธใ์ นกลมุ่ เทา่ นั้น
เชน่ เดยี วกนั กบั ผลการศกึ ษาเรอื่ ง “ชวี ติ ของคนทมี่ คี วามหลากหลายทางเพศในชมุ ชนเสมอื นจรงิ ”
ของ จตุรวิทย์ ทองเมือง (2551) ท่ีพบว่า ชุมชนเสมือนจริงหรอื พืน้ ท่ใี นเวบ็ ไซตม์ กั จะถกู ใช้เพ่ือเปน็ พ้ืนที่
ในการแสดงความเป็นตัวตนของผู้ใช้ท่ีมีเพศสภาวะท่ีหลากหลาย เป็นแหล่งข้อมูลและแลกเปลี่ยน
ประสบการณร์ ะหวา่ งคนในชมุ ชนมากกวา่ จะใชเ้ ปน็ พน้ื ทใ่ี นการตอ่ สเู้ พอ่ื เรยี กรอ้ งสทิ ธขิ องตนเอง กลา่ วคอื
ชมุ ชนเสมอื นจรงิ ถกู สรา้ งขนึ้ โดยผนู้ ำ� ชมุ ชนหรอื ผดู้ แู ลเวบ็ ไซตท์ เี่ ปน็ ผมู้ คี วามหลากหลายทางเพศ โดยแตล่ ะ
เว็บไซต์มีเป้าหมายแตกต่างกัน เช่น ชุมชนไทยแลนด์เอาท์ หรือชุมชนเสมือนจริงของชายรักชายมี
เป้าหมายเพอ่ื เป็นชมุ ชนท่สี รา้ งสรรค์และกระตนุ้ ให้ชายรักชายยอมรับในตัวตนทางเพศ ส่วนชุมชนเลสล่า
หรือชุมชนของหญิงรักหญิงมีเป้าหมายเพื่อสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือหญิงรักหญิง นอกจากนี้ยังมี
เปา้ หมายเพอ่ื ใหส้ งั คมทว่ั ไปเขา้ ใจหญงิ รกั หญงิ ใหม้ ากขนึ้ สว่ นชมุ ชนเลดบี้ อยซห์ รอื ชมุ ชนของหญงิ ขา้ มเพศ