Page 68 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 68

9-58 ความรเู้ บือ้ งตน้ การส่ือสารชมุ ชน
สื่อมวลชนมีบทบาทในการน�ำเสนอภาพลักษณ์ของผู้มีเพศสภาวะที่หลากหลายผ่านสื่อชนิดต่างๆ เช่น
นวนิยาย ข่าว ละคร ภาพยนตร์ นักวิชาการทสี่ นใจศกึ ษาเกีย่ วกับเพศสภาวะทห่ี ลากหลาย เช่น ปีเตอร์
แจ็กสัน (Peter Jackson) มองว่า ส่ือมวลชนน�ำเสนอเร่ืองราวของผู้ท่ีมีความหลากหลายทางเพศใน
มมุ มองเชงิ ลบ เชน่ การทำ� รา้ ยและฆา่ เกยเ์ พอ่ื ชงิ ทรพั ย์ การลอ่ ลวงเดก็ เพอื่ ทำ� อนาจาร การระบาดของการ
ติดเชือ้ เอชไอวีในกลมุ่ เกย์ เป็นต้น

            หนังสือพิมพ์เป็นสื่อมวลชนชนิดแรกท่ีมีการกล่าวถึงผู้ท่ีมีเพศสภาวะหลากหลาย ใน
หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั ศรกี รงุ ฉบับประจ�ำวันท่ี 20 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2478 ที่รายงานวา่ มกี ารเปดิ ซ่องโสเภณี
ชายของ นายการุณ ผาสุก หรือนายถั่วด�ำ  ในห้องแถวย่านตรอกถ่ัวงอก อ�ำเภอป้อมปราบ และในเวลา
ตอ่ มา คำ� วา่ “ถ่วั ด�ำ” จึงถูกใช้เปน็ แสลงในการกล่าวถึงพฤตกิ รรมความสัมพันธ์ระหวา่ งเพศเดยี วกนั โดย
สงั คมถอื วา่ เปน็ พฤตกิ รรมทวี่ ติ ถารและผดิ จากธรรมชาติ ตอ่ มาหนงั สอื พมิ พส์ ยามนกิ ร ฉบบั ประจำ� วนั ที่ 4
กนั ยายน 2493 รายงานวา่ มีการเสพเมถุนทางเวจมรรค หรือวธิ ีบำ� บดั ความใคร่ของนกั โทษทนี่ ิยมทำ� ตอ่
กันระหว่างจ�ำคุก ท�ำให้พฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกันเป็นท่ีรับรู้ในสังคมไทยมากขึ้น โดย
คนสว่ นใหญ่ถอื เป็นเรอ่ื งนา่ อายและน่ารังเกียจ

            เดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2508 หนงั สอื พมิ พส์ ยามนกิ ร เสนอขา่ วตำ� รวจนครบาลเหนอื กวาดลา้ ง
กะเทยท่ีไปมั่วสุม ขายบริการทางเพศ และก่ออาชญากรรมโดยการลักทรัพย์ ปล้นทรัพย์ชาวต่างชาติที่
เขา้ ไปซอื้ บรกิ ารทางเพศ ในยา่ นประตนู ำ้�  ถนนเพชรบรุ ี และอนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ ตอ่ มามขี า่ วการฆาตกรรม
นายดาเรล เบอรแิ กน เจ้าของและบรรณาธิการหนงั สอื พิมพบ์ างกอกเวิร์ล วยั 49 ปี ขา่ วระบุว่า ผูเ้ สียชวี ิต
เปน็ ผมู้ เี พศสภาวะทห่ี ลากหลาย ถกู ยงิ เสยี ชวี ติ ในสภาพทเ่ี ปลอื ยกาย ตำ� รวจเชอ่ื วา่ เปน็ การกระท�ำของคขู่ า
ซึ่งขา่ วน้ีคอลมั นสิ ตน์ ามปากกา “สีเสียด” ในคอลัมน์ “สารพันปัญหา” ของหนงั สือพิมพ์ไทยรฐั วจิ ารณ์
ว่าพฤติกรรมประเภทนี้เป็นความวิปริตหรือโรคจิตอย่างหน่ึง ท้ังนี้เป็นเพราะรับเอาวัฒนธรรมดังกล่าวมา
จากประเทศตะวันตกโดยคนไทยที่ไปศึกษาต่างประเทศและชาวต่างชาติท่ีเดินทางเข้ามาในประเทศไทย
อนั ถอื วา่ เป็นความเสอ่ื มทรามและไมเ่ หมาะสมเป็นอย่างยิง่ (พจนา ธปู แกว้ , 2547: 92-94)

            แมท้ ศั นคตขิ องคนสว่ นใหญใ่ นสงั คมไทยจะยอมรบั เพศสภาวะทห่ี ลากหลายมากขนึ้ แตภ่ าพ
ลกั ษณข์ องผมู้ เี พศสภาวะทห่ี ลากหลายยงั คงถกู ผลติ ซำ�้ ในแงล่ บอยเู่ สมอ ดงั งานวจิ ยั ของ คชาธปิ พาณชิ -
ตระกลู (2556) ทศี่ กึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั อดุ มการณว์ า่ ดว้ ยชายรกั ชายในหนงั สอื พมิ พร์ ายวนั
ภาษาไทย ปี พ.ศ. 2555: การศึกษาวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ ที่พบว่า หนังสือพิมพ์ผลิตซ้�ำภาพ
แทนของชายรักชายไปในลักษณะท่ีเป็นพวกวิปริตผิดเพศ และตกเป็นจ�ำเลยของสังคม มากกว่าทจ่ี ะนำ�
เสนอภาพแทนของชายรกั ชายทเี่ ป็นคนธรรมดาทว่ั ไป ผวู้ ิจยั ยังพบว่า อุดมการณ์ที่ผลติ ซ้�ำเปน็ วาทกรรม
กระแสหลักมี 3 ชุด คือ

                 1)	ชายรักชายยังไม่ได้รับการยอมรับในสังคม แม้ปัจจุบันสังคมจะมีการยอมรับกลุ่ม
ชายรกั ชายมากข้ึน อย่างไรก็ตามยงั มบี างกลุ่มท่มี องว่าชายรกั ชายเป็น “คนอืน่ ”

                 2)	ชายรกั ชายมักมกี ารแสดงออกทแ่ี ตกตา่ งจากบรรทัดฐานทางสงั คม กลา่ วคอื การ
ทชี่ ายรกั ชายมลี กั ษณะนสิ ยั พฤตกิ รรม หรอื รสนยิ มทผ่ี ดิ แผกแตกตา่ งจากคนสว่ นใหญใ่ นสงั คมทมี่ ลี กั ษณะ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73