Page 71 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 71
การสอื่ สารชมุ ชนกบั การพัฒนาสตรีในชมุ ชน 9-61
ผา่ นระบบแลกเปลยี่ นทางการคา้ และบรกิ าร ควบคไู่ ปกบั รปู แบบการพบปะกนั แบบไมเ่ ปน็ ทางการ มงุ่ เนน้
ความบนั เทงิ และมลี กั ษณะกจิ กรรมทเี่ กดิ ขนึ้ เฉพาะสถานทแี่ ตล่ ะแหง่ เชน่ การดม่ื เหลา้ เตน้ รำ� รวมถงึ การ
บริการทางเพศ ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีช่วยน�ำไปสู่การสร้างความสัมพันธ์เพื่อบรรลุเป้าหมายในการออกมาใช้
ชวี ติ ตามสถานท่เี หล่านข้ี องบคุ คลทีม่ ฐี านะเปน็ ลกู คา้ หรือนักทอ่ งเท่ยี ว (พิเชฐ สายพันธ์, 2546: 54-57)
ส�ำหรับชุมชนแบบใหม่ของคนท่ีมีความหลากหลายทางเพศ เปน็ การมองการรวมตัวกนั ของคน
ที่มีรสนิยมทางเพศเหมือนกับท่ีรวมตัวกันและจะใช้การส่ือสารในลักษณะพิเศษหรือการส่ือสารในกลุ่ม ใน
ทีน่ จ้ี ะแสดงให้เหน็ กรณีกลมุ่ ชายรักชายและหญิงรักหญงิ ตามลำ� ดบั
2.1 การสื่อสารของกลุ่มชายรักชาย ในช่วงปี พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) เกิดการระบาดของโรค
เอดส์ รายงานทางการแพทยท์ ถ่ี กู สอ่ื นำ� เสนอในเวลานนั้ ท�ำให้ภาพลักษณ์ของเกย์เปน็ ลบ และสนบั สนนุ
ความเชื่อที่ว่า เกย์มีรสนิยมทางเพศแบบผาดโผน ส�ำส่อน เปล่ียนคู่นอนบ่อย จึงได้มีการรวมตัวของ
บรรณาธิการนิตยสารเกย์และเจ้าของธุรกิจบาร์เกย์เพื่อรณรงค์และต่อต้านโรคเอดส์ โดยสมาชิกในกลุ่ม
ช่วยกันเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เรื่องการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยในกลุ่มเกย์ผ่านส่ือส่ิงพิมพ์เฉพาะ
กลุ่ม เชน่ นติ ยสารฉบบั ตา่ งๆ จนในทส่ี ดุ เกดิ กลมุ่ ทำ� งานเพอื่ การรณรงคเ์ กย่ี วกบั โรคเอดสเ์ กดิ ขน้ึ อยา่ งเปน็
ทางการในปลายทศวรรษท่ี 80 ใชช้ อื่ ว่า “กลมุ่ ภราดรยับยง้ั โรคเอดส์แหง่ ประเทศไทย” (Fraternity for
Aids Cessation in Thailand) ในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) โดยมี นที ธีรโรจนพงษ์ เป็นแกนนำ�
กจิ กรรมรณรงคเ์ รอ่ื งโรคเอดสข์ องกลมุ่ ภราดรฯ นอกจากจะรณรงคเ์ รอ่ื งโรคเอดสแ์ ลว้ ยงั มกี ารจดั
พิมพ์จุลสาร “กุลเกย์” เพื่อน�ำเสนอเน้ือหาของการเป็นเกย์ที่ดี พร้อมกับก่อต้ังคณะเต้นร�ำ “เส้นสีขาว”
ซ่งึ อาศัยพ้ืนฐานการเต้นแจ๊ส ท่มี ีที่มาจากชนชัน้ ลา่ งของลาตินอเมรกิ า เพ่อื สะท้อนให้เห็นถงึ การต่อสขู้ อง
ผทู้ ไี่ มม่ โี อกาสเทา่ เทยี มกบั คนทวั่ ไปในสงั คม การรณรงคเ์ รอื่ งโรคเอดส์ การใชส้ อื่ การแสดงการเตน้ รำ� การ
ใชจ้ ุลสารทก่ี ลุ่มภราดรฯ จัดทำ� ขนึ้ น้ัน กลา่ วไดว้ ่าเป็นการสอื่ สารชุมชนเพอ่ื พัฒนากล่มุ เพศสภาวะทหี่ ลาก
หลาย ซึ่งกาญจนา แกว้ เทพ (อา้ งแล้ว) เห็นว่า การส่อื สารเพอื่ การพฒั นาท่นี า่ จะได้ผลดคี อื การปรับการ
สอ่ื สารเปน็ การสอ่ื สารเพอื่ การพฒั นาในกระบวนทศั นท์ างเลอื ก (alternative paradigm) ซงึ่ เนน้ การสอ่ื สาร
แบบมสี ว่ นรว่ ม (participatory communication) ทใี่ หส้ มาชกิ ในชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสอ่ื สารมาก
ข้ึน ท้งั การรับสารอยา่ งตั้งใจมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ การรว่ มผลิตสื่อ และทสี่ ำ� คญั คือการรว่ มกำ� หนดนโยบาย อนั จะ
ท�ำให้เกิดการพัฒนาชมุ ชนได้ดีที่สดุ เนอ่ื งจากเกิดจากความต้องการของชุมชนอย่างแท้จรงิ
การสื่อสารภายในกลุ่มผู้ที่มีเพศสภาวะท่ีหลากหลายมีลักษณะเป็นเครือข่ายการส่ือสาร ท่ีมี นที
ธีรโรจนพงษ์ เป็นเสมือนศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ท้ังภายในและ
ภายนอก อยา่ งไรกต็ ามเครอื ขา่ ยการสือ่ สารของกลมุ่ ภารดรฯ นั้นมีลกั ษณะ “รวมกนั เฉพาะกจิ ” กล่าวคอื
จะมกี ารรวมตวั กนั เพอ่ื ทำ� กจิ กรรม หรอื เคลอ่ื นไหวประเดน็ ทเี่ กยี่ วกบั ผทู้ มี่ เี พศสภาวะทหี่ ลากหลายเปน็ ครง้ั
คราวเท่านั้น
ในปี พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001) กลมุ่ เกย์ได้กลบั มารวมตัวกนั อกี ครั้ง โดยจดั ต้งั เปน็ “กลุม่ ฟ้าสีรงุ้ ”
มี กมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ เป็นแกนน�ำในการก่อต้ัง (ต่อมาเปล่ียนเป็นสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย)
กลมุ่ ดงั กลา่ วเกดิ ขน้ึ จากความคดิ ทต่ี อ้ งการใหค้ วามชว่ ยเหลอื คนไทยทรี่ กั เพศเดยี วกนั ใหม้ พี น้ื ทท่ี างสงั คม
และไดร้ บั ความสนใจจากภาครฐั ในดา้ นบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละอนื่ ๆ มากขนึ้ อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งการสรา้ งความ