Page 66 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 66
9-56 ความรเู้ บ้อื งต้นการสือ่ สารชมุ ชน
ในพระราชวงั ช้ันใน มากกวา่ ท่จี ะมีลักษณะเฉพาะและความแตกตา่ งทางด้านอัตลกั ษณ์ ทส่ี ามารถจ�ำแนก
ออกมาเปน็ วิถีชีวิตทางเพศแบบหนงึ่ ได้ (เทดิ ศกั ด์ิ ร่มจ�ำปา, 2545: 187)
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การเล่นเพ่ือนในหมู่นางสนม นางก�ำนัล มีอย่างแพร่หลาย ท�ำให้
พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการผู้ใหญ่ในราชส�ำนักมีความวิตกกังวลเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 4 โดยทรงมีพระราชหัตถเลขาไปถึงพระราชธิดาใน
พระองค์ เนอื้ ความวา่ “...อยา่ เลน่ เพอ่ื นกบั ใครเลย มผี วั มเี ถดิ แตอ่ ยา่ ใหป้ อกลอกเอาทรพั ยเ์ จา้ ไปไดน้ กั ...”
เชน่ เดยี วกบั พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงพระราชนพิ นธเ์ พลงยาวเพอ่ื ใชอ้ บรมสงั่ สอนเกยี่ วกบั
การเล่นเพ่ือน ว่าเป็นส่ิงท่ีไม่ควรท�ำ และการเล่นเพื่อนเปรียบได้กับการคบชู้ หรือแม้แต่ในวรรณคดีเร่ือง
“พระอภยั มณ”ี ของสนุ ทรภู่ ยงั ไดก้ ลา่ วถงึ การเลน่ เพอ่ื นของนางสนมก�ำนลั ของเมอื งรมจกั รวา่ สนมฝา่ ยใน
ล้วนเป็น “นักเลงเพื่อน” นิยมการเล่นเพื่อนจนเป็นเร่ืองปกติ ไม่สนใจผู้ชายที่ไปเก้ียวพาราสี (อ้างใน
วิภาดา, เร่ืองเดียวกนั : 50)
นอกจากนนั้ ยงั พบหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เชน่ จิตรกรรมฝาผนงั ที่วดั คงคารามท่มี ีภาพแสดง
ให้เห็นถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างผหู้ ญงิ ด้วยกัน และภาพทีแ่ สดงให้เห็นความสมั พนั ธ์ระหว่างผชู้ ายดว้ ยกัน
ซงึ่ อาจสรปุ ไดว้ า่ ความสัมพันธ์ของผู้มีความหลากหลายทางเพศน้ันเกิดขึ้นและด�ำรงอยู่ในสังคมไทยมา
นานแล้ว และแม้จะไม่เป็นท่ียอมรับในสังคม แต่ก็ไม่ถึงกับเป็นพฤติกรรมที่ถูกตีตราว่าน่ารังเกียจ และ
ถูกกดทับจนไม่มีพ้ืนที่ให้แสดงตัว ดังจะเห็นว่า แม้ว่าพฤติกรรมการเล่นเพื่อนในสมัยนั้น จะถือเป็น
พฤติกรรมต้องห้ามส�ำหรับผู้หญิงชนชั้นสูงในราชส�ำนัก แต่ไม่มีหลักฐานใดท่ีระบุว่ามีนางก�ำนัลคนใด
ถกู ลงโทษอันเนือ่ งมาจากพฤตกิ รรมดังกลา่ ว
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสังคมไทยสมัยนั้นไม่ได้มองว่า การมีความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดียวกันของ
ผหู้ ญงิ เปน็ เรอ่ื งรา้ ยแรง ทงั้ นอี้ าจเปน็ เพราะทศั นคตทิ มี่ ตี อ่ ผทู้ ม่ี คี วามหลากหลายทางเพศในสงั คมจารตี นนั้
มักจะผูกโยงกับฐานคติทางพระพุทธศาสนา ท่ีเชื่อว่ามีการเวียนว่ายตายเกิด และเชื่อว่าผู้ท่ีมีความหลาก
หลายทางเพศนน้ั เปน็ ผลมาจาก “บญุ ทำ� กรรมแตง่ ” ในกรณนี สี้ งั คมจงึ เหน็ วา่ คนกลมุ่ นเ้ี ปน็ “คนชายขอบ”
ไม่ควรได้รับการยอมรับในระดับเดียวกับคนท่ัวไป และคนกลุ่มน้ีถูกลงโทษแล้วในระดับหน่ึง ไม่จ�ำเป็นท่ี
สังคมจะต้องเข้าไปจัดการลงโทษอย่างรุนแรง (เทอดศักด์ิ ร่มจ�ำปา, อ้างแล้ว: 187-188) ดังที่ปรากฏใน
กฎหมายตราสามดวงมีพระราชก�ำหนดขอ้ หนึ่งท่รี ะบวุ า่ ชายทีล่ ว่ งละเมดิ หรือมีชกู้ บั ภรรยาของผอู้ ่นื ต้อง
ได้รบั โทษท่ที กุ ข์ทรมานแสนสาหัส โดยโทษของกรรมต้องใชเ้ วลาชดใชท้ ่ียาวนาน กล่าวคอื ตอ้ งเปน็ สตั ว์
ทถ่ี ูกตอ้ น 500 ชาติ เป็นหญงิ 500 ชาติ และเปน็ กะเทย 500 ชาติ (อา้ งใน พจนา ธปู แกว้ , อา้ งแล้ว: 86)
อย่างไรก็ตาม สถานะของผู้มีความหลากหลายทางเพศได้ตกต่�ำลง เม่ือสังคมไทยเปิดรับเอา
ค่านิยมและวัฒนธรรมจากตะวันตก ทำ� ใหค้ า่ นยิ มเกย่ี วกบั เรอื่ งเพศวถิ ใี นสงั คมไทยเปลยี่ นแปลงไป สจุ ติ ต์
วงษ์เทศ (2549, อ้างใน วิภาดา, เร่ืองเดียวกัน: 53) ต้ังข้อสังเกตว่า ความคิดท่ีว่าเพศสัมพันธ์มีหน้าท่ี
เพยี งการใหก้ �ำเนดิ มนษุ ยน์ ี้ จรงิ ๆ แลว้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ความคดิ ของคนไทยสมยั โบราณ แตเ่ ปน็ ความคดิ ของฝรงั่
ซง่ึ มมี าแตส่ มยั วคิ ตอเรยี ขององั กฤษ ทเ่ี ชอื่ วา่ เพศสมั พนั ธท์ ถี่ กู ตอ้ งคอื เพศสมั พนั ธแ์ บบทม่ี กี ารแตง่ งาน และ
เพื่อก่อให้เกิดการผลิตทายาท กิจกรรมทางเพศที่นอกเหนือจากน้ีถือเป็นส่ิงท่ีช่ัวช้า (สนใจโปรดดู ยศ
สันตสมบัต,ิ 2535: 73-77) ความคิดนไ้ี ด้รบั อิทธพิ ลทัง้ ครสิ ต์ศาสนาและวิทยาศาสตรใ์ นสมัยนัน้ และไทย