Page 64 - ความรู้เบื้องต้นการสื่อสารชุมชน
P. 64

9-54 ความรเู้ บอ้ื งตน้ การส่ือสารชมุ ชน

เร่ืองที่ 9.2.5
การสื่อสารของเพศสภาวะท่ีหลากหลายในชุมชน

       ดงั ทก่ี ลา่ วไปแลว้ วา่ ในทศั นะของสตรนี ยิ ม (feminism) คำ� วา่ เพศ (sex) มคี วามหมายแตกตา่ ง
จากคำ� วา่ “ความเปน็ เพศ” (gender) ซง่ึ เปน็ องคค์ วามรทู้ สี่ รา้ งหมายใหก้ บั ความแตกตา่ งของรา่ งกาย เปน็
ความสัมพันธ์ท่ีซับซ้อนท้ังในทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และจิตวิทยาระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย หรือ
อีกนัยหน่ึงคือ ความเป็นเพศเป็นส่วนหน่ึงของโครงสร้างทางสังคม เป็นการจัดการทางสังคมของความ
แตกต่างระหว่างเพศให้กลายเป็นพฤติกรรมที่ถูกเรียนรู้ และเป็นความคาดหวังของสังคมท่ีสัมพันธ์กับ
ทง้ั สองเพศ

       ระบบความคดิ ความรู้ และความเชอ่ื เกยี่ วกบั เรอื่ งเพศแบบดง้ั เดมิ อยภู่ ายใตก้ รอบของการจดั การ
ความสัมพนั ธใ์ นรูปแบบคู่ตรงขา้ ม (binary opposition) ท่เี ช่ือว่ามนษุ ย์มเี พยี งสองเพศคือเพศหญิงและ
เพศชายเท่านั้น โดยอาศัยการอธิบายความแตกต่างระหว่างอวัยวะเพศหญิงและเพศชายที่แตกต่างกัน
คณุ ลกั ษณะของแตล่ ะเพศทป่ี รากฏขน้ึ ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ หากแตถ่ กู สรา้ งขนึ้ ผา่ นกระบวนการ
ขดั เกลาทางสงั คม (socialisation) ทซี่ ึมซบั เขา้ ไปเป็นส่วนหนง่ึ ของความเปน็ ตัวตนของคนในสงั คม และ
ด้วยความเช่อื ที่ว่ามนษุ ย์มเี พยี งสองเพศนัน้ เปน็ ตัวกำ� หนดวา่ “ความสมั พนั ธ์แบบเพศตรงขา้ ม” จึงเป็น
“เร่ืองปกต”ิ ส่วน “ความสมั พันธ์ระหว่างคนเพศเดียวกัน” เป็นเรื่องท่ี “ผิดปกติ” ในสงั คมทค่ี นส่วนใหญ่
ถอื วา่ การมคี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพศ (heterosexuality) เปน็ ความปกติ มกั มองและจดั ประเภทใหบ้ คุ คล
ทม่ี คี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนเพศเดยี วกนั เปน็ “ผมู้ พี ฤตกิ รรมเบย่ี งเบนทางเพศ” (deviant behavior) และ
กีดกนั คนเหลา่ น้นั ใหอ้ อกจากสังคม

       นกั สตรนี ยิ มหลายคนเชอื่ วา่ ไมม่ สี ภาวะของ “ชายจรงิ หญงิ แท”้ ในสงั คม มเี พยี งการประกอบสรา้ ง
และหลอ่ หลอมของสงั คมและวฒั นธรรมทบี่ บี บงั คบั ใหบ้ คุ คลกลายเปน็ ผหู้ ญงิ และผชู้ ายเทา่ นนั้ ทงั้ ทใี่ นความ
เป็นจรงิ ในสังคมไมไ่ ด้มเี พศสภาวะเฉพาะหญิงและชาย ในประวตั ศิ าสตรข์ องกรกี โรมัน และอยี ปิ ต์ในยุค
โบราณ มหี ลกั ฐานทบี่ ง่ ชว้ี า่ ในสมยั นน้ั มพี ฤตกิ รรมแบบรกั เพศเดยี วกนั ปรากฏอยู่ เชน่ ภาพวาด งานแกะ
สลกั จิตรกรรมฝาผนงั วรรณกรรมตา่ งๆ ฯลฯ (Michael Ruse, 1988: 7)

       ในปัจจุบันเราไม่อาจปฏิเสธได้ว่า กลุ่มของ “ผู้ท่ีมีความหลากหลายทางเพศ” (gender diver-
sity) ในสังคมท่วั โลกไดเ้ พ่มิ จ�ำนวนสงู ขึ้นเมอื่ เปรียบเทยี บกบั ในอดีต ผูท้ ี่มีความหลากหลายทางเพศในที่
นี้ หมายถงึ บคุ คลทมี่ เี พศสภาวะทแี่ ละเพศวถิ ที แ่ี ตกตา่ งหลากหลาย มกี ารแสดงออกถงึ พฤตกิ รรมทางเพศ
และอัตลักษณ์ทางเพศท่ีไม่ตรงตามเพศก�ำเนิดของตน หรือผู้ที่มีรสนิยมชื่นชอบเพศเดียวกัน เช่น เกย์
กะเทย เลสเบีย้ น ทอม ดี้ ไบเซ็กส์ชวล ผูห้ ญิงข้ามเพศ หรือท่รี ู้จกั ในนาม กลมุ่ แอล จี พี ที (LGBT)
ย่อมาจาก เลสเบีย้ น เกย์ ไบเซ็กส์ชวล แอนดท์ รานสเ์ จนเดอร์ (Lesbian, Gay, Bisexual and Trans-
gender) ซงึ่ เป็นค�ำศพั ทท์ ีพ่ ัฒนาข้ึนในประเทศตะวนั ตกช่วงศตวรรษที่ 20 โดยอธิบายถงึ ผู้ทม่ี คี วามชอบ
และการแสดงออกทางเพศอีกกลุ่มหนึ่งนอกเหนือจากคนท่ีรักต่างเพศ (heterosexual) นอกจากนี้ยังมี
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69