Page 49 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 49

สื่อท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนชีววิทยา 2-39

	 ก. 	 ข.

                        ภาพที่ 2.14 เครื่องวัดความหวานและเครือ่ งวดั นํา้ ตาล

ทม่ี า: 	 http://www.tools.in.th/

       4.2 	เครื่องวัดความเค็ม ใช้วัดความเค็มในอาหารโดยการวัดเกลือ (Sodium Chloride: NaCl) ใน
หน่วยดังนี้ g/100g g/100 mL, ความถ่วงจ�ำเพาะ (Specific gravity) และ Baume (ภาพที่ 2.15 ก.) หรือ
วัดย่านความเค็มในช่วง 0-100% (PTT) อ่านค่าละเอียด 1% มีย่านวัดความถ่วงจ�ำเพาะ (SG) 1.000-1.070
(ภาพที่ 2.15 ข.)

	 ก. 	                                                            ข.

ที่มา: 	 http://www.tools.in.th/  ภาพท่ี 2.15 เครื่องวัดความเค็ม

5. 	สอ่ื ทใ่ี ชส้ ำ� หรบั การสงั เกตทางกายสมั ผัส

       การสังเกตโดยใช้กายสัมผัสน้ัน ผู้สังเกตจะได้ข้อมูล เช่น ผิวสัมผัสขรุขระ หยาบ เรียบ ล่ืน หรือ
ส่ิงที่สัมผัสน้ันร้อนหรือเย็น เป็นต้น แต่ในบางครั้งการสังเกตโดยใช้กายสัมผัสมีความคลาดเคลื่อน เช่น การ
ใช้มือข้างซ้ายจุ่มในน้ําเย็น มือข้างขวาจุ่มในนํ้าอุ่น แล้วใช้มือทั้งสองข้างมาจุ่มลงในน้ําที่อุณหภูมิห้อง
พร้อม ๆ กัน จะพบว่า สัมผัสจากมือข้างซ้ายบอกว่าน้ําอุณหภูมิห้องนั้นเป็นน้ําอุ่น และสัมผัสจากมือข้างขวา
บอกว่านํ้าอุณหภูมิห้องนั้นเป็นนํ้าเย็น เป็นต้น จึงมีการใช้เครื่องมือที่มีความแม่นย�ำกว่า คือ เทอร์โมมิเตอร์
มาช่วยในการวัดอุณหภูมิ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54