Page 50 - นโยบายสาธารณะในบริบทโลก
P. 50

14-40 นโยบายสาธารณะในบรบิ ทโลก

เร่ืองท่ี 14.3.2
ประเภทและวิธีการก่อการร้ายสากล และกลุ่มผู้ก่อการร้ายส�ำคัญ

ประเภทและวิธีการในการปฏิบัติการก่อการร้าย19

       การปฏิบัติการก่อการรา้ ยอาจจ�ำแนกออกเปน็ 13 ประเภท ประกอบดว้ ย
       1) 	การปล้นยึดอากาศยานโดยสาร (Hijacking) ลักษณะของการก่อการร้ายด้วยการยึดยาน
โดยสารเป็นการปฏิบัติการยึดยานพาหนะขณะเคล่ือนไหว เช่น เคร่ืองบิน เรือยนต์ รถไฟ พร้อมกักขัง
ผโู้ ดยสารและพนกั งานประจ�ำยานไวเ้ พอ่ื การตอ่ รอง สถติ ผิ กู้ อ่ การรา้ ยปฏบิ ตั ใิ นลกั ษณะน้ี โดยเฉพาะ Sky
Hijacking ในช่วง พ.ศ. 2511-2520 เฉล่ยี แลว้ ปีละ 115 ครงั้ หลังจากน้ันมาการปฏบิ ตั กิ ารประเภทน้ลี ด
ลงมาก สาเหตทุ ลี่ ดลงอาจเนอ่ื งมาจากมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ตามทา่ อากาศยานของประเทศตา่ งๆ
รัดกุมและเข้มแข็งข้ึน จึงท�ำให้ผู้ก่อการร้ายปฏิบัติการได้ยากขึ้น ต่อมาหลังจาก พ.ศ. 2524 เป็นต้นมา
สถติ กิ ารจเ้ี ครอ่ื งบนิ ของผกู้ อ่ การรา้ ยเรมิ่ สงู ขนึ้ อกี สาเหตอุ าจเกดิ จากการรกั ษาความปลอดภยั เขม้ งวดนอ้ ย
ลง ผ้กู อ่ การรา้ ยจึงฉวยโอกาสปฏิบตั กิ ารอีก และอกี ประการหนึ่งอาจมาจากผูก้ ่อการร้ายมวี ิวัฒนาการและ
มีเทคโนโลยีทางอุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องใช้ทันสมัยขึ้น ประกอบกับก�ำลังพลได้รับการฝึกเป็นอย่างดี
เหตุการณ์ก่อการร้ายสากลเกี่ยวกับการจเ้ี ครื่องบนิ ในประเทศไทยเคยมีมาแล้ว ในกรณีสายการบนิ การูดา
ของอนิ โดนเี ซยี (Garuda Incident) โดยกลมุ่ ผกู้ อ่ การรา้ ยชอี ะหช์ าวอนิ โดนเี ซยี ไดจ้ เี้ ครอื่ งบนิ ของสายการ
บนิ การูดา จากอินโดนีเซยี มาลงทปี่ ระเทศไทยเมอ่ื วนั ท่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2521 และการปฏิบัตกิ ารครง้ั น้ี
ประเทศไทยไดร้ ว่ มมือกับทางอนิ โดนเี ซียสามารถชงิ ตัวประกันได้ออกมาเป็นผลสำ� เร็จ
       2) 	การลอบวางระเบิด (Bombing) ลักษณะของการก่อการร้ายสากล ด้วยการลอบวางระเบิด
เป็นวธิ กี ารท่ผี กู้ อ่ การร้ายนยิ มใชม้ ากที่สดุ เนอ่ื งจากมอี ำ� นาจในการท�ำลายรนุ แรงสะดวกในการซ่อนพราง
และยากต่อการสืบสวนของเจ้าหน้าท่ี สามารถหลบหนีการจับกุมได้ง่ายเพราะผู้ก่อการร้ายจะใช้วิธี Hit
and Run เชน่ เอาระเบดิ ไปวางไวแ้ ละใชเ้ ครอ่ื งควบคมุ ระยะไกล (remote control) หรอื อปุ กรณถ์ ว่ งเวลา
จุดระเบิด ผลการระเบดิ ท�ำให้มีผู้บาดเจบ็ ล้มตายเปน็ จำ� นวนมาก โดยเฉพาะในกรุงปารีสมีการระเบดิ ตาม
ท้องถนนตา่ งๆ วันละหลายครง้ั และมีความถ่ีสงู ข้ึน เหตกุ ารณล์ อบวางระเบดิ ใกล้บา้ นเราไดแ้ ก่ เหตุการณ์
ในกรงุ ยา่ งกงุ้ โดยผกู้ อ่ การรา้ ยเกาหลเี หนอื จ�ำนวน 2 นายไดล้ อบเดนิ ทางไปกรงุ ยา่ งกงุ้ เมอ่ื วนั ท่ี 12 กนั ยายน
พ.ศ. 2526 โดยเรอื สนิ คา้ เกาหลเี หนอื บนเรอื ดงั กลา่ วนำ� อปุ กรณเ์ กยี่ วกบั วตั ถรุ ะเบดิ ไปชว่ ยพฒั นาประเทศ
พม่า ตามแผนการช่วยเหลือของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ผู้ก่อการร้าย
ยงั ไมเ่ ขา้ เมอื งยงั คงแอบอยใู่ นเรอื ปะปนอยกู่ บั ลกู เรอื วธิ กี ารของผกู้ อ่ การรา้ ยคอื ใหล้ กู เรอื เขา้ เมอื งทกุ วนั แต่
ไม่เป็นเวลาที่แน่นอน เมื่อเจ้าหน้าท่ีตรวจคนเข้าเมืองของพม่าเกิดความเคยชินคุ้นเคย ท�ำให้มาตรการ

         19 กติ ตธิ์ นทตั เลอวงศ์รตั น์ และคณะ, อา้ งแล้ว, 34-46.
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55