Page 20 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 20

8-10 ความร้เู บ้อื งตน้ เกี่ยวกับสอื่ มวลชน
       การสื่อสารแต่ละประเภทสามารถท�ำหน้าท่ีส่งข้อมูลได้หลากหลายประเภทมากขึ้น ไม่จ�ำกัดว่า

การสื่อสารโทรคมนาคมต้องส่งสัญญาณโทรศัพท์ การสื่อสารข้อมูลต้องผ่านเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือการ
ส่อื สารมวลชนตอ้ งมาจากวิทยกุ ระจายเสยี งหรอื โทรทัศน์เพยี งอย่างเดียว เพราะปจั จบุ นั น้ี เราใชโ้ ทรศัพท์
รับสัญญาณโทรทศั นไ์ ด้ ใช้อนิ เทอร์เนต็ แทนโทรศัพทไ์ ด้ เปน็ ต้น จากภาพท่ี 8.1 จะเหน็ การเช่อื มโยงของ
สื่อแต่ละประเภทท่ีมีการบูรณาการกันข้ามส่ือ และถูกถ่ายทอดไปบนโครงสร้างพ้ืนฐานที่เรียกว่าทางด่วน
ขอ้ มลู (electronic superhighway)

       ด้วยเหตุที่สื่อใหม่มีการบูรณาการส่ือหลายประเภทเข้าด้วยกัน จึงเรียกช่ือว่า “พหุส่ือ” หรือ
“มัลติมีเดีย” (multimedia) การบูรณาการของสื่อใหม่น้ันสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายระดับและมุมมอง
ดงั น้ี (Van Dijk, 2006)

       1. 	 โครงสรา้ งพนื้ ฐาน (infrastructure) เชน่ การเชอื่ มโยงการสง่ สญั ญาณและอปุ กรณต์ า่ งประเภท
เขา้ ดว้ ยกนั ของโทรศพั ทแ์ ละคอมพวิ เตอร์ เราจงึ สามารถใชบ้ รกิ ารหลายประเภทบนโครงสรา้ งพนื้ ฐานเดยี วกนั

       2. 	การสง่ สญั ญาณ (transportation) เชน่ การสง่ สญั ญาณโทรศพั ทผ์ า่ นอนิ เทอรเ์ นต็ และโทรทศั น์
ผา่ นอินเทอรเ์ นต็ ดว้ ยวิธสี ง่ สัญญาณเดียวกับโทรทัศน์ผา่ นเคเบลิ หรือดาวเทียม

       3. 	การบริหารจัดการ (management) เชน่ บริษทั เคเบิลให้บรกิ ารผา่ นสายโทรศพั ท์ และบริษทั
โทรศัพทใ์ ห้บรกิ ารผ่านสายเคเบลิ ทวี ี

       4. 	การให้บริการ (service) เชน่ การผสมผสานบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู (information) และการสอ่ื สาร
(communication) บนอนิ เทอร์เนต็

       5. 	ประเภทของข้อมูล (types of data) การผสมผสานขอ้ มลู ประเภทตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั อนั ไดแ้ ก่
เสยี ง ข้อมูล ตัวอกั ษรและภาพ

       การบูรณาการที่กล่าวมาน้ี ก่อให้เกิดการหลอมรวมอย่างค่อยเป็นค่อยไประหว่างโทรคมนาคม
การสอื่ สารขอ้ มลู และการสอ่ื สารมวลชน จนในทสี่ ดุ อาจไมห่ ลงเหลอื ความแตกตา่ งของความหมายไวต้ อ่ ไป
กไ็ ด้ กระบวนการของการบูรณาการเปน็ ผลมาจากการปฏวิ ัตเิ ชิงเทคนิค 2 ประการ คือ 1) การท่ีสอ่ื ตา่ งๆ
เปล่ียนเป็นระบบดิจิทัล ซ่ึงจะเห็นได้ชัดในการบูรณาการระหว่างการสื่อสารโทรคมนาคมและการส่ือสาร
ข้อมูลผ่านเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ และ 2) การส่งสัญญาณบรอดแบนด์ผ่านการเชื่อมตอ่ ทุกประเภทผ่าน
สายและผา่ นอากาศ ซึ่งจะเห็นได้ชัดในการบรู ณาการการสื่อสารมวลชนในกระบวนการหลอมรวมส่อื

       ชว่ งทศวรรษทผ่ี า่ นมา เราเหน็ แลว้ วา่ การบรู ณาการสอื่ ใหมม่ กั จะไปรวมกนั อยทู่ เ่ี ทคโนโลยโี ทรศพั ท์
เคลอื่ นท่ี ซึง่ สามารถตอบสนองการใช้ประโยชนข์ องผใู้ ช้ได้อยา่ งกวา้ งขวางและแพรห่ ลาย

2. 	การมีปฏิสัมพันธ์ (Interactivity)

       การมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ปน็ คณุ ลกั ษณะทางโครงสรา้ งประการทส่ี องของสอื่ ใหม่ การปฏวิ ตั ดิ า้ นการสอ่ื สาร
ในปจั จบุ นั นบั วา่ เปน็ จดุ กำ� เนดิ ของสอ่ื ปฏสิ มั พนั ธ์ (interactive media) ซงึ่ การมปี ฏสิ มั พนั ธน์ น้ั กม็ คี วามหมาย
อย่างกว้างว่า “การกระท�ำและการโต้ตอบอย่างต่อเนื่องกัน” อย่างไรก็ตาม เจนเสน (Jensen, 1999)
ยาน ฟาน ไดค์ และเดอ วอส (Van Dijk & de Vos, 2001) ไดก้ ำ� หนดระดับของการมปี ฏสิ มั พันธไ์ ว้
4 ระดบั เพือ่ ใชอ้ ธิบายส่ือใหมไ่ วด้ ังน้ี
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25