Page 21 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 21

ส่ือใหม่ 8-11
       ระดับท่ี 1: ระดบั พนื้ ฐานของการมปี ฏสิ มั พนั ธ์ คอื ความเปน็ ไปไดใ้ นการสรา้ งการสอ่ื สารสองทาง
หรอื หลายทาง สงิ่ นคี้ ือ มิติด้านระยะทาง (space dimension) สื่อดิจทิ ัลทั้งหลายล้วนมีคุณสมบตั ขิ ้อนี้ไม่
มากก็น้อย อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ถึงความแตกต่างของปฏิสัมพันธ์เช่นกัน เช่น การดาวน์โหลดข้อมูล
(download) ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ด้านอุปทานของเว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และโทรทัศน์แบบมี
ปฏิสัมพนั ธน์ ัน้ จะมมี ากกวา่ ปฏิสัมพันธ์ด้านอปุ สงคห์ รือการอัปโหลดข้อมลู (upload) ของผใู้ ช้
       ระดับท่ี 2: การมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นระดบั ทส่ี องคอื ความพรอ้ มกนั (synchronicity) สง่ิ นค้ี อื มิติด้าน
เวลา (time dimension) เปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ หากการกระทำ� และการโตต้ อบกนั ดำ� เนนิ การไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
โดยไมถ่ กู ขดั จงั หวะ จะเปน็ การเพม่ิ คณุ ภาพของการมปี ฏสิ มั พนั ธไ์ ด้ อยา่ งไรกต็ ามสอื่ ปฏสิ มั พนั ธบ์ างอยา่ ง
เช่น อิเลก็ ทรอนิกส์เมล (e-mail) ไม่ตอ้ งอาศัยความพรอ้ มกันในการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ เนือ่ งจากผู้รับและผสู้ ง่
สามารถสื่อสารกันไดต้ ามเวลาและสถานทท่ี ่ตี นสะดวก
       ระดับที่ 3: การมีปฏิสัมพันธ์ในระดับท่ีสามคือ การควบคุมโดยผู้มีปฏิสัมพันธ์ ส่ิงน้ีคือ มิติด้าน
พฤติกรรม (behavioral dimension) ซงึ่ เปน็ ความสามารถของผสู้ ง่ และผรู้ บั ทสี่ ามารถปรบั เปลย่ี นบทบาท
กนั ไดท้ กุ ขณะ ปฏสิ มั พนั ธด์ า้ นการควบคมุ นนี้ บั วา่ เปน็ มติ ทิ มี่ คี วามสำ� คญั มากทส่ี ดุ ในการนยิ ามปฏสิ มั พนั ธ์
ของการศกึ ษาสอื่ และการสอื่ สาร (Jensen, 1999) การมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นระดบั นหี้ มายถงึ ผใู้ ชส้ ามารถแทรกแซง
โปรแกรมหรอื กระทำ� การแทนและยงั สามารถทำ� การเปลยี่ นแปลงได้ สง่ิ ทผี่ ใู้ ชก้ ระทำ� ตอ้ งสามารถกอ่ ใหเ้ กดิ
การเปล่ียนแปลงอย่างชัดเจนต่อฝ่ายตรงข้าม มิฉะนั้นจะไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นปฏิสัมพันธ์เต็มรูปแบบ
เนอื่ งจากสอ่ื ดจิ ทิ ลั สมยั ใหมส่ รา้ งปฏสิ มั พนั ธไ์ ดม้ ากกวา่ สอื่ ดง้ั เดมิ สอื่ ใหมจ่ งึ กอ่ ใหเ้ กดิ การสลบั ขว้ั ของความ
สมดุลระหว่างอ�ำนาจของผู้ใช้กับด้านของอุปสงค์ อย่างไรก็ตาม ศักยภาพของส่ือใหม่ในมิติน้ียังไม่ได้รับ
การยอมรับอย่างเตม็ ทนี่ กั เนอ่ื งจากการออกแบบสอื่ ใหมใ่ นปจั จบุ นั ยงั ถูกครอบงำ� ดว้ ยมมุ มองเชิงอุปทาน
       ระดับที่ 4: การมีปฏิสัมพันธ์ในระดับที่ส่ีซ่ึงเป็นระดับท่ีสูงสุดคือ การกระท�ำและการโต้ตอบของ
ผู้เก่ียวขอ้ งด้วยความเข้าใจในความหมายและบรบิ ท สิ่งนคี้ อื มิติด้านจิตใจ (mental dimension) ซ่งึ เปน็
เงือ่ นไขท่ีสำ� คญั สำ� หรบั การมปี ฏสิ มั พันธ์แบบเตม็ รปู แบบ ตัวอยา่ งเชน่ การสนทนาแบบตวั ต่อตัว และการ
สอื่ สารผา่ นคอมพวิ เตอร์ ปจั จบุ นั การมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นระดบั นถ้ี กู จ�ำกดั อยใู่ นการมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์
และสตั วท์ ม่ี ีการตระหนักรู้

3. 	การเข้ารหัสดิจิทัล (Digital Code)

       รหัสดิจิทัลเป็นคุณลักษณะเชิงเทคนิคของส่ือใหม่ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการส่ือสารเป็นอย่างมาก รหัส
ดจิ ทิ ลั หมายความวา่ ขอ้ มลู และการสอ่ื สารในการใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรจ์ ะเปน็ ระบบทใ่ี ชค้ า่ เลขฐานสอง
(binary digit) คือ ตวั เลข 0 และ 1 โดยท่ีแตล่ ะคา่ ของเลข 1 และ 0 น้นั นับเป็น 1 บิต (bit) และกลุม่
ของบติ ทใ่ี ช้แทนค่าขอ้ มูลตา่ งๆ จะเรยี กว่า “ไบต”์ (Bytes)	

       1 ไบตจ์ ะมขี นาด 8 บติ ใชแ้ ทนตวั อกั ษรใดๆ เชน่ ตวั เลข พยญั ชนะหรอื สญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ได้ 1 ตวั
       1 กิโลไบต์ (Kilobyte) จะมีค่าเท่ากับ 1,024 ไบต์ หรือประมาณ 1,000 ไบต์ เทียบเท่ากับ
ตวั อกั ษรประมาณ 1,000 ตวั หรือประมาณ 1 หน้ากระดาษ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26