Page 12 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 12
2-2 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
หน่วยที่ 2
การคน้ ควา้ และการนำ� เสนอวรรณกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
เคา้ โครงเน้อื หา
ตอนที่ 2.1 ม โนทศั นเ์ บอ้ื งตน้ ของการคน้ ควา้ และการนำ� เสนอวรรณกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ ง หรอื การ
ทบทวนวรรณกรรม
2.1.1 ความหมายและความส�ำคัญของการทบทวนวรรณกรรม
2.1.2 วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม
ตอนที่ 2.2 กระบวนการค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง หรือการทบทวน
วรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษา
2.2.1 ความหมายและประเภทของวรรณกรรมท่ีใช้ในการวิจัย
2.2.2 กระบวนการทบทวนวรรณกรรม
2.2.3 ตัวอย่างกระบวนการทบทวนวรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษา
ตอนที่ 2.3 การนำ� เสนอผลการคน้ ควา้ และการนำ� เสนอวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง หรอื การทบทวน
วรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษา
2.3.1 รูปแบบ หลักการ และข้ันตอนการน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม
2.3.2 ตัวอย่างการน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษา
2.3.3 การประเมินและการใช้ประโยชน์รายงานผลการทบทวนวรรณกรรม
แนวคดิ 1. ก ารค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หรือการทบทวนวรรณกรรม หมายถึง
การค้นคว้า การศึกษา และการน�ำเสนอผลการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องและตรงกับ
การวจิ ยั ทจ่ี ะทำ� โดยสรปุ นำ� เสนอเปน็ กรอบแนวคดิ การวจิ ยั และสมมตฐิ านวจิ ยั การทบทวน
วรรณกรรมเป็นกิจกรรมส�ำคัญที่นักวิจัยทุกคนต้องท�ำ เพื่อให้นักวิจัยรอบรู้เนื้อหาในเรื่อง
ท่ีจะท�ำวิจัย มีแนวทางท�ำวิจัยท่ีเหมาะสม และได้รายงานผลการทบทวนวรรณกรรมท่ีมี
คุณภาพสูง เป็นรากฐานสนับสนุนให้ได้รายงานวิจัยมีคุณภาพดีมาก
2. การค้นคว้าวรรณกรรมท่ีตรงกับงานวิจัยเป็นกิจกรรมที่นักวิจัยสืบค้นจากวรรณกรรม
หลายประเภท หลายแหล่ง ที่ตรงกับงานวิจัยของตนและน�ำผลการสืบค้นวรรณกรรมมา
ประเมินคุณภาพขั้นต้น เพื่อคัดกรองให้ได้วรรณกรรมเฉพาะรายการท่ีตรงและเป็น
ประโยชน์ตามที่นักวิจัยก�ำหนด จากนั้นนักวิจัยต้องศึกษาท�ำความเข้าใจวรรณกรรมแต่ละ
เรื่อง เรียนรู้ สรุปสาระ และบันทึกสาระท่ีได้จากวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ