Page 67 - ไทยศึกษา
P. 67
วรรณกรรมไทย ๙-57
ประโยชน์ในเรื่องความรู้รอบตัวมากข้ึน และถ้าได้อ่านสารคดีท่องเท่ียวหลายเรื่อง ซ่ึงผู้เขียนไปสถานท่ี
เดยี วกนั กค็ วรจะอา่ นเปรียบเทยี บกัน เพือ่ ศึกษารายละเอียดรวมทัง้ ทรรศนะของผเู้ ขียนด้วย
๑.๒ สารคดีชีวประวัติ เป็นสารคดีที่มีผู้นิยมอ่านมากเช่นกัน ประวัติบุคคลช่วยให้เราเรียนรู้ถึง
แนวทางการดําเนินชีวิตของเจ้าของประวัติ ผู้อ่านได้เห็นความสําเร็จ ความล้มเหลว ความผิดพลาด
รวมทง้ั เหตปุ จั จยั ตา่ งๆ ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการอา่ นชวี ประวตั จิ ะทาํ ใหผ้ อู้ า่ นมคี วามคดิ กวา้ งขน้ึ ไตรต่ รองมากขน้ึ
สารคดีชีวประวัตแิ ยกเป็น ๒ ประเภท คอื
๑) อัตชีวประวัติ หมายถึง ชีวประวัติท่ีเจ้าของประวัติเขียนเอง เช่น เกิดวังปารุสก์ ของ
พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ความสําเร็จและความล้มเหลว ของ ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ
ฟน้ื ความหลงั ของพระยาอนมุ านราชธน เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั มบี คุ คลซง่ึ เปน็ ผมู้ ชี อ่ื เสยี งเปน็ ทร่ี จู้ กั ในสงั คม เชน่
นักการเมือง ดารา ศิลปินตลก นักร้อง ฯลฯ มาเขียนอัตชีวประวัติกันมากขึ้น และมักจะเป็นสารคดี
“ขายด”ี เพราะ “แฟน” หรอื ผนู้ ยิ มคนมชี ือ่ เสยี งเหลา่ นสี้ นใจอยากรู้เรอื่ งส่วนตัวของบคุ คลท่ีตนช่ืนชม
๒) ชีวประวัติ คือ หนังสือชีวประวัติของผู้ใดผู้หน่ึงที่มีผู้ศึกษารวบรวมเรื่องราวต่างๆ ใน
ชีวิตของผู้น้ันมาเขียนไว้ เช่น เร่ือง สนมเอกพระพุทธเจ้าหลวง เป็นประวัติของเจ้าคุณพระประยูรวงศ์
(เจา้ จอมมารดาแพ) ในรัชกาลที่ ๕ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพทรงนพิ นธ์ไว้
และได้ทรงนิพนธ์ชีวประวัติของบุคคลต่างๆ ไว้หลายรายด้วยกัน สมภพ จันทรประภา เขียน สมเด็จ
พระศรีสวรินทรา พระพันวษาอัยยิกาเจ้า และชีวประวัตินักประพันธ์สตรีผู้มีชื่อเสียงในเรื่อง ชีวิตดุจ
เทพนิยาย ของดอกไมส้ ด พระยาอนุมานราชธนเขียนประวตั ิพระสารประเสริฐ (ตรี นาคะประทปี ) ให้ชอื่
เรอื่ งวา่ พระสารประเสรฐิ ทข่ี า้ พเจา้ รจู้ กั สารคดปี ระเภทชวี ประวตั นิ อกจากจะทาํ ใหผ้ อู้ า่ นไดร้ เู้ รอื่ งราวตา่ งๆ
ในการ ดาํ เนนิ ชวี ติ ของเจา้ ของประวตั ิ รวมทงั้ ขอ้ คดิ ทน่ี า่ สนใจแลว้ ยงั ไดท้ ราบถงึ สภาพบา้ นเมอื ง เหตกุ ารณ์
ต่างๆ ทป่ี รากฏในเรือ่ งด้วย
๑.๓ สารคดีประเภทให้ความรู้ ให้ความรู้เร่ืองต่างๆ กัน เช่น ความรู้ทางประวัติศาสตร์ เช่น
เร่อื ง ไทยรบพมา่ ของสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ พม่าเสียเมือง ของ ม.ร.ว.
คึกฤทธิ์ ปราโมช ความรู้ด้านวรรณคดี เช่น บ่อเกิดแห่งรามเกียรต์ิ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ความรดู้ า้ นศาสนา เช่น ลทั ธขิ องเพ่ือน ของพระยาอนมุ านราชธน ความรูท้ าง
ดา้ นภาษา เชน่ กาเลหม่านไต ของ คณุ บรรจบ พันธเุ มธา ที่เลา่ ถงึ การไปสืบคําไทในกลุม่ ชาวไทท่ีอยใู่ น
ประเทศอน่ื ภาษากฎหมายไทย ของธานนิ ทร์ กรยั วเิ ชยี ร ซง่ึ วเิ คราะหก์ ารใชภ้ าษาในกฎหมายไทยไวอ้ ยา่ ง
ละเอยี ด และสารคดีเรือ่ งนกี้ ็เป็นแบบอย่างของการใชภ้ าษาทีด่ ดี ว้ ย
เรอ่ื งของสารคดยี งั มอี กี มาก หลากประเภท หลากสาระความรผู้ อู้ า่ นสามารถเลอื กอา่ นไดต้ ามความ
พอใจ ปัจจุบันมีสารคดีให้อ่านท้ังที่เป็นรูปเล่มและเป็นบทความขนาดสั้นปรากฏอยู่ในนิตยสาร วารสาร
ท่ัวไปการอ่านสารคดีจะทําให้ได้ความรู้กว้างขวางขึ้น และเมื่อได้อ่านสารคดีในทํานองเดียวกัน ควรอ่าน
ในลักษณะของการเปรียบเทียบด้วย สารคดีท่ีผู้เขียนมีความสามารถในการเขียนอาจให้ทั้งความรู้ ความ
บนั เทิง และเปน็ แบบอย่างของงานเขยี นทดี่ อี ีกดว้ ย