Page 65 - ไทยศึกษา
P. 65

วรรณกรรมไทย ๙-55
       นวนยิ ายทไี่ ดร้ บั รางวลั เหลา่ นลี้ ว้ นเปน็ นวนยิ ายทส่ี ะทอ้ นภาพสงั คมในมมุ ใดมมุ หนง่ึ ทน่ี กั เขยี นมอง
เห็นปัญหาและถ่ายทอดสู่วรรณกรรมเช่นเดียวกับรางวัลซีไรต์ให้แก่นวนิยายสลับกับเร่ืองสั้นและบทกวี
นวนิยายทีไ่ ดร้ ับรางวัลซีไรต์เป็นนวนิยายทม่ี ีแนวคิดสรา้ งสรรค์ มีสาระแง่มมุ ท่ีชวนคิดชวนพจิ ารณา
       นวนิยายไทยมีหลากหลาย มีท้ังเร่ืองท่ีมุ่งให้ความเพลิดเพลินเป็นสําคัญ บางคนเขียนเชิงขบขัน
เชน่ สมยั กอ่ นมเี รอื่ งชดุ สามเกลอ ของ ป.อนิ ทรปาลติ เรอ่ื งสะทอ้ นภาพสงั คมคนชนั้ สงู เชน่ เรอื่ ง สแี่ ผน่ ดนิ
ของ ม.ร.ว.คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช เรอ่ื งแสดงการต่อสู้ของชนช้นั เชน่ ปศี าจ ของเสนีย์ เสาวพงศ์ เรื่องสะท้อน
ภาพชนชัน้ กรรมาชพี เชน่ เสอื้ สีฝุ่น ของกฤษณา อโศกสิน
       ปจั จบุ นั มีนกั เขยี นนวนยิ ายเปน็ จาํ นวนมากมีแนวการเขยี นต่างๆ กนั เชน่ ชาติ กอบจิตติ เขียน
นวนยิ ายหลายเรอื่ ง เปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งอา่ นอยา่ งใชค้ วามคดิ ไดร้ บั รางวลั ซไี รตถ์ งึ สองครงั้ คอื เรอื่ ง คาํ พพิ ากษา
และ เรอ่ื ง เวลา ประภัสสร เสวิกลุ เขยี นทง้ั นวนยิ ายต่างแดนและเรือ่ งในเมืองไทย นกั เขยี นหญงิ ซึง่ เปน็ ท่ี
รจู้ กั และสรา้ งผลงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เชน่ ว.วนิ จิ ฉยั กลุ โสภาค สวุ รรณ ทมยนั ตี กงิ่ ฉตั ร ฯลฯ ปจั จบุ นั ผสู้ นใจ
สามารถหานวนยิ ายอา่ นไดง้ า่ ย มที ง้ั ทพ่ี มิ พเ์ ปน็ เลม่ และทเี่ ขยี นเปน็ ตอนๆ ในนติ ยสารตา่ งๆ ผอู้ า่ นสามารถ
เลือกอ่านไดต้ ามอัธยาศัย ยังมีเรื่องราวเก่ียวกับนวนิยายและผปู้ ระพันธอ์ กี มากมายที่ไม่อาจนํามากล่าวไว้
ณ ที่นี้ใหค้ รบถ้วน ไดน้ กั ศึกษาสามารถเลอื กอา่ นได้ตามความพอใจขอ้ สําคัญควรอา่ นอยา่ งพินจิ พจิ ารณา
เพอื่ จะไดร้ บั รสในการอา่ นอยา่ งเตม็ ท่ี และสามารถประเมนิ ไดว้ า่ นวนยิ ายทไ่ี ดอ้ า่ นนน้ั มคี ณุ คา่ ทางใด อยา่ งไร

๓. 	กวีนิพนธ์สมัยใหม่

       วรรณกรรมประเภทบนั เทงิ คดที สี่ มควรจะกลา่ วถงึ อกี อยา่ งกค็ อื ประเภทรอ้ ยกรองหรอื บทกวนี พิ นธ์
ในสมยั รัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ ยังมีรอ้ ยกรองเรอ่ื งยาวอยู่ แต่หลงั จากนั้นก็ไม่มรี อ้ ยกรองเรือ่ งยาวอกี
ส่วนใหญ่แต่งเป็นบทเป็นตอนส้ันๆ ผู้ท่ีริเริ่มใช้บทกวีนิพนธ์บรรยายข้อคิดและเน้นความคิดเป็นสําคัญคือ
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ผใู้ ชน้ ามปากกา ครูเทพ เขยี นรอ้ ยกรองท่ใี ห้ข้อคิดไวเ้ ป็นอนั มากรวมเรียกวา่
โคลงกลอนของครเู ทพ การใชฉ้ นั ทลกั ษณใ์ ชห้ ลายแบบ แตท่ นี่ ยิ มกนั มากทสี่ ดุ คอื กลอนแปด ฉนั ทม์ ผี นู้ ยิ ม
เขียนนอ้ ย สว่ นใหญ่จะใชฉ้ นั ท์ประพันธบ์ ทสดดุ ีในวาระสาํ คัญต่าง ๆ

       บทกวนี พิ นธไ์ ดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งเชน่ เดยี วกบั นวนยิ ายและเรอื่ งสนั้ ผเู้ ขยี นรอ้ ยกรอง
เหลา่ นจี้ งึ มกั เรยี กกนั วา่ นกั กลอน ลา่ สดุ เรยี กกนั วา่ กวี ทาํ นองเดยี วกบั ทเี่ รยี กกวรี นุ่ กอ่ น นกั กลอนทเ่ี ขยี น
กลอนแสดงความคดิ เหน็ เรยี กรอ้ งความยตุ ธิ รรมใหแ้ กผ่ ดู้ อ้ ยโอกาส ชสี้ ภาพแรน้ แคน้ ปลกุ ใจใหส้ กู้ บั ความ
อยุติธรรม ฯลฯ นักกลอนประเภทนี้ก็จัดอยู่ในกลุ่มประเภทก้าวหน้า ประเภทท่ีเขียนกลอนรัก บรรจง
เลือกสรรคํามาร้อยเรียงให้เกิดวรรณศิลป์อันไพเราะ บทกลอนท่ีเน้นความคิดลึกซึ้งต่างๆ บางคนคิด
ฉันทลักษณ์แบบใหม่ข้ึนโดยดัดแปลงจากของเดิม บางคนนําลักษณะของเพลงพ้ืนบ้านมาปรับใช้ใหม่
นักเขียน บทกวีบางคนเขียน กลอนเปล่า หรือกลอนอิสระโดยสรรคํามาเรียงร้อยถ่ายทอดความคิดความ
รสู้ กึ สรา้ งภาพ สรา้ งอารมณส์ ะเทอื นใจแกผ่ อู้ า่ นบทกวปี ระเภทกลอนเปลา่ มผี นู้ ยิ มเขยี นกนั มากกลอนเปลา่ น้ี
ดูเหมือนจะเขยี นง่าย เพราะไม่มขี ้อบังคบั แต่จะเขยี นใหด้ ีไดย้ าก

       ปัจจุบันร้อยกรองขนาดส้ันปรากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์และนิตยสารท่ัวๆ ไป มีท้ังร้อยกรอง
ประเภทเสนอแนวคิดอยา่ งหลากหลาย และประเภทพรรณนาอารมณค์ วามรสู้ กึ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70