Page 60 - ไทยศึกษา
P. 60

๙-50 ไทยศกึ ษา

เรื่องที่ ๙.๔.๑
วรรณกรรมประเภทบันเทิงคดี

       วรรณกรรมประเภทบนั เทงิ คดเี ปน็ เรอื่ งแตง่ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งจรงิ อาจไดเ้ คา้ มาจากเรอื่ งจรงิ กไ็ ด้ แตไ่ มใ่ ช่
ความจรงิ ทง้ั หมด ผปู้ ระพนั ธม์ ุง่ จะสร้างความเพลดิ เพลินใหเ้ กดิ แก่ผู้อา่ น แต่ผอู้ า่ นอาจไดร้ บั ความรู้ความ
เขา้ ใจเรอื่ งชวี ติ ไดด้ ว้ ย บนั เทงิ คดสี มยั ใหม่ ไดแ้ ก่ เร่ืองส้ันและนวนิยาย เดมิ เรากม็ นี ทิ านนยิ ายเลา่ สกู่ นั ฟงั
อยแู่ ลว้ เรอื่ งส้ันและนวนิยายก็เป็นเรือ่ งเลา่ ทาํ นองเดยี วกัน แตม่ คี วามสมจริงมากข้นึ ตวั ละครเปน็ มนษุ ย์
ทมี่ คี วามนกึ คดิ อยา่ งมนุษยท์ ่ัวๆ ไป ดงั จะไดก้ ลา่ วถงึ เรอ่ื งสัน้ และนวนยิ ายพอสังเขปดงั น้ี

๑. 	เร่ืองสั้นและนวนิยาย

       คาํ เรอ่ื งสน้ั ไมไ่ ดห้ มายถงึ เรอื่ งขนาดสนั้ แตห่ มายถงึ เรอ่ื งเลา่ สมมตทิ มี่ อี งคป์ ระกอบคลา้ ยนวนยิ าย
คอื มแี นวคดิ โครงเรอ่ื ง ตวั ละคร ฉาก บทสนทนา บรรยากาศ นำ�้ เสยี ง เรอื่ งสนั้ บางเรอื่ งอาจไมม่ โี ครงเรอื่ ง
ไม่มีบทสนทนาก็ได้ แต่เรื่องส้ันจะต้องมีแนวคิด มีตัวละครมีการใช้ภาษาท่ีกระชับ ไม่บรรยายยึดยาว
เดมิ ทเี่ ชอ่ื กนั วา่ เรอื่ ง สนกุ นน์ิ กึ พระนพิ นธข์ องพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงพชิ ติ ปรชี ากร เปน็ เรอ่ื งสนั้ เรอ่ื งแรก
แตต่ อ่ มามผี โู้ ตแ้ ยง้ วา่ นา่ จะเปน็ ตอนเรมิ่ ตน้ ของนวนยิ าย เรอ่ื งนปี้ รากฏเพยี งตอนเดยี ว ใชฉ้ ากวดั บวรนเิ วศฯ
มภี กิ ษุ ๔ รปู สนทนากนั ถงึ เรอ่ื งหลงั การสกึ จากพระแลว้ จะไปทาํ อะไร เนอ่ื งจากวรรณกรรมประเภทนเี้ ปน็
ของใหม่ จงึ ทาํ ใหม้ ผี เู้ ขา้ ใจผดิ วา่ นาํ เรอื่ งจรงิ มาเขยี น สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ์
สมเด็จพระสังฆราชเจ้าในขณะน้ันไม่พอพระทัยมาก เรื่องน้ีจึงต้องยุติลงเพียงน้ัน อย่างไรก็ตามถือได้ว่า
เรอ่ื งสนุกน์นิ ึกเป็นบนั เทงิ คดีไทยเร่อื งแรก

       ในสมยั แรกๆ เรอื่ งสน้ั สว่ นหนง่ึ เปน็ เรอ่ื งแปลจากตา่ งประเทศ ตอ่ มากม็ กี ารแปลงเคา้ เรอื่ งตา่ งประเทศ
มาใช้ตัวละครไทยและฉากไทย ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ มีเรื่องทํานองเรื่องสั้นเกิดข้ึนมาก สมาคมภาษาและ
หนังสอื แห่งประเทศไทย ไดจ้ ดั รวบรวมพมิ พใ์ หช้ ือ่ ว่า ร้อยแก้วแนวใหม่ของไทย พ.ศ. ๒๕๑๗-๒๕๕๓ อัน
หมายถงึ ขอ้ เขยี นรอ้ ยแกว้ ทมี่ แี นวตา่ งไปจากเดมิ มเี รอื่ งทน่ี า่ สนใจหลายเรอ่ื ง เชน่ เรอื่ ง ทะเลกิ เทกิ ทากของ
เจ้าหม่ืนศรีสรรักษ์ (เพ่ง) แสดงให้เห็นความแปลกแยกของวัฒนธรรมตะวันตกที่ยังผสมผสานเข้ากับ
วฒั นธรรมไทยไมไ่ ด้ เมอื่ ตวั ละครในเรอ่ื งเปน็ ลกู ชายทไี่ ปเรยี นสกอตแลนดต์ งั้ แตอ่ ายุ ๑๑ ปี กลบั มาทกั ทาย
และสอ่ื ความคดิ แบบตะวนั ตกกบั บดิ ามารดาซง่ึ คอ่ นขา้ งเปน็ คนหวั เกา่ จงึ ไมอ่ าจยอมรบั พฤตกิ รรมทแ่ี ปลกๆ
ของบุตรชายได้ เร่ืองนี้สะท้อนให้เห็นสังคมในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ที่เร่ิมรับอิทธิพลตะวันตก บางคนก็รับมา
เต็มท่ี บางคนกไ็ ม่ยอมรบั สิง่ ใหม่ กอ่ ให้เกิดความขดั แย้งด้านวฒั นธรรม

       ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ถึงรัชกาลท่ี ๗ การศึกษาสําหรับทวยราษฎร์มีข้ึนท่ัวประเทศ ทําให้มีผู้อ่าน
และเขยี นมากขนึ้ เรอ่ื งสนั้ ในสมยั รชั กาลที่ ๗ มคี วามสมจรงิ มากขน้ึ และมลี กั ษณะเปน็ ไทยมากขนึ้ เนอื้ หา
ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับชีวิตและพฤติกรรมของบุคคลมากกว่ามุ่งแสดงปัญหาทางสังคม แนวเร่ืองเก่ียวกับ
ความรกั ชวี ติ ครอบครวั มเี รอื่ งทแ่ี สดงปญั หาทางสงั คมบา้ ง เชน่ เรอ่ื ง วธิ ดี ลุ ยภาพอยา่ งใหม่ ของ ศรอี ศิ รา
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65