Page 55 - ไทยศึกษา
P. 55

วรรณกรรมไทย ๙-45

       อนึ่ง ลักษณะของกลอนที่นํามาใช้ประพันธ์นิราศน้ีเป็นแบบของกลอนเพลงยาว คือ ข้ึนต้นด้วย
วรรคที่ ๒ คือ วรรครับ ต่อจากน้ันแตง่ ไปจนจบลงทา้ ยดว้ ยคําวา่ เอย ดงั นน้ั หนังสอื ทพ่ี ิมพร์ นุ่ เกา่ จึงมัก
เรยี กนิราศ ประเภทกลอนวา่ กลอนเพลงยาวนริ าศ เช่น เรยี กนริ าศรบพมา่ ทา่ ดนิ แดง ว่า กลอนเพลงยาว
นิราศรบพมา่ ท่าดินแดง เปน็ ต้น

๒. 	พัฒนาการของนิราศ

       ดังได้กล่าวแล้วว่านิราศเป็นบทประพันธ์ส่วนตัวของกวี คุณลักษณะท่ีเด่นเป็นพิเศษคือสํานวน
โวหารที่แสดงถึงความห่วงใย อาลัยอาวรณ์ถึงนางอันเป็นท่ีรักของกวี รวมท้ังความทุกข์ใจท่ีต้องจากถิ่น
ทอี่ ยนู่ ริ าศเรอื่ งใดทพ่ี รรณนาไดล้ กึ ซงึ้ จบั ใจ กเ็ ปน็ ทน่ี ยิ มและเปน็ แบบอยา่ งแกผ่ ปู้ ระพนั ธน์ ริ าศในสมยั ตอ่ ๆ มา
จนกระทงั่ บางทา่ นกป็ ระพนั ธไ์ วด้ ว้ ยโวหารตามทว่ งทาํ นองของนริ าศเทา่ นนั้ หาไดโ้ ศกเศรา้ จรงิ จงั ไม่ เนอ้ื หา
ของนิราศในสมัยแรกๆ จึงเป็นเร่ืองราวเกยี่ วกับความรักความอาลยั เป็นส่วนใหญ่

       ในสมัยกรงุ ธนบรุ ีมนี ิราศแนวใหม่เรอ่ื ง นริ าศพระยามหานภุ าพไปเมืองจีน นริ าศนมี้ ีอีกช่ือหน่ึงว่า
นิราศกวางตุ้ง พระยามหานุภาพร่วมเดินทางไปกับคณะทูต ซึ่งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีส่งไปเจริญ
สัมพันธไมตรีกับจีนในปี ๒๓๒๔ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ประพันธ์นิราศกวางตุ้งมีตําแหน่งใดในคณะทูต
นริ าศกวางตงุ้ มลี กั ษณะเดน่ ตา่ งจากนริ าศรนุ่ กอ่ นคอื ไมพ่ รรณนาครำ่� ครวญ แตเ่ นน้ ใหค้ วามสาํ คญั เกยี่ วแก่
การบรรยายถงึ การเดนิ ทางไปเมอื งจนี เปน็ บนั ทกึ เหตกุ ารณแ์ ละประสบการณต์ า่ งๆ ทผี่ ปู้ ระพนั ธไ์ ดพ้ บเหน็
นริ าศกวางตงุ้ จงึ เปน็ ตน้ แบบในการเพมิ่ เนอื้ หาสาระใหแ้ กว่ รรณกรรมประเภทนริ าศ จดั เปน็ พฒั นาการดา้ น
เนอ้ื หา เพมิ่ คณุ คา่ แกว่ รรณกรรมประเภทนริ าศ ซงึ่ นอกจากจะเปน็ วรรณกรรมทอ่ี า่ นไดอ้ ยา่ งบนั เทงิ ใจดา้ น
อารมณ์ ความรูส้ ึกแล้ว ยงั ได้รบั ความรูต้ ่างๆ อกี ดว้ ย

       นริ าศทม่ี สี าระเนอ้ื ความนา่ สนใจอกี เรอื่ งหนง่ึ คอื นริ าศรบพมา่ ทา่ ดนิ แดง พระราชนพิ นธใ์ นพระบาท
สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงนพิ นธเ์ มอ่ื เสดจ็ ไปทรงบญั ชาการศกึ รบพมา่ ทต่ี าํ บลทา่ ดนิ แดง
เปน็ นริ าศทมี่ บี ทราํ พนั ถงึ สตรอี นั เปน็ ทรี่ กั ตามธรรมเนยี มของนริ าศ แตม่ ไิ ดท้ รงเจาะจงผใู้ ดเปน็ พเิ ศษ กลา่ ว
ถึง “ทุกอนงค์ทรงลักษณ์อันสุนทร” บทพรรณนาภูมิประเทศเนื่องจากเสด็จนําทัพไปทางเรือ แม่น้�ำมี
เกาะแก่งมาก เม่ือถึงไทรโยคจึงเดินทัพต่อไปทางบก ข้อความสําคัญในนิราศบรรยายละเอียดถึงการตั้ง
ค่ายของพมา่ เป็นคา่ ยหลาย ค่ายสรา้ งไว้อยา่ งมนั่ คงแขง็ แรง กองทัพไทยใชเ้ วลา ๓ วัน ในการโจมตคี ่าย
พม่าได้ชัยชนะอย่างเด็ดขาด เพราะ “เหล่าพม่ารีบรัดลัดหนี บ้างก็ตายก่ายกองในปถพี” นิราศพม่า
ท่าดนิ แดงจึงเปน็ บันทึกภาพประวัติศาสตรก์ ารสงครามท่ชี ัดเจนภาพหนงึ่

       อนงึ่ ในนริ าศนี้พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชยงั ไดท้ รงแสดงพระราชปณิธาน
ของพระองคไ์ วอ้ ยา่ งแจม่ ชดั สมกบั ทที่ รงเปน็ ผกู้ อ่ ตงั้ ราชธานใี นชว่ งทปี่ ระเทศใกลเ้ คยี งทาํ ตวั เปน็ อรริ าชศตั รู
ดังนี้

	 ตง้ั ใจจะอปุ ถัมภก			  ยอยกพระพุทธศาสนา
จะปอ้ งกันขอบขัณฑสีมา		  รกั ษาประชาชนและมนตรี
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60