Page 52 - ไทยศึกษา
P. 52
๙-42 ไทยศึกษา
๑.๔ อิเหนา สมัยอยุธยาเจ้าฟ้ามงกุฎ พระน้องนางของเจ้าฟ้ากุณฑลทรงนิพนธ์ไว้ เรียกกันว่า
อิเหนาเล็ก บทเดิมสูญหายเช่นเดียวกัน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ
ใหแ้ ตง่ ขนึ้ ใหมต่ อ่ มา พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงนาํ มาปรบั ปรงุ และทรงพระราชนพิ นธใ์ ห้
เหมาะแกก่ ารแสดงละครยงิ่ ขน้ึ พระราชนพิ นธอ์ เิ หนาฉบบั นเ้ี ปน็ ฉบบั ทไี่ ดร้ บั ยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสรวา่
เปน็ ยอดของกลอนบทละคร บทละครเรอื่ งอเิ หนานี้ นอกจากจะอา่ นสนกุ ในเนอื้ เรอ่ื ง เพลดิ เพลนิ กบั บทกลอน
อนั ไพเราะแลว้ ในเรอื่ งอเิ หนายงั สอดแทรกราชประเพณพี ธิ ตี า่ งๆ ไวใ้ นเรอ่ื งดว้ ย เรอ่ื งอเิ หนามเี คา้ เรอื่ งจาก
ชวาก็จริง แต่รายละเอียดต่างๆ เป็นเรื่องไทยๆ ท้ังส้ิน แม้แต่ฉากในเร่ือง เช่น ฉากเมืองก็คือกรุงเทพฯ
นเ้ี อง
๒. บทละครนอก
ในสมัยอยุธยามีละครนอกหลายเร่ืองสูญหายไปบ้าง จดจํากันต่อๆ มาบ้าง แต่บทละครนอก
ทป่ี รากฏเปน็ วรรณกรรมและนยิ มอา่ นกนั คอื พระราชนพิ นธบ์ ทละครนอกในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ -
หล้านภาลยั มี ๕ เร่อื งคอื ไกรทอง ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง มณีพิไชย คาวี อีกเรอื่ งหนึง่ คือ สังข์ศิลปชัย เป็น
พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงนพิ นธไ์ วเ้ มอื่ ครงั้ ทรงดาํ รงพระยศเปน็ กรมหมน่ื
เจษฎาบดนิ ทร์
ในสมัยรัชกาลที่ ๓ กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์ทรงนําเร่ืองพระลอมาประพันธ์เป็น
บทละครนอก ใหช้ อ่ื เรือ่ งว่า พระลอนรลักษณ์
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงพระราชนพิ นธ์บทละครเรื่อง เงาะป่า เป็นเร่ืองราว
ของชนเผ่าซาไก ซ่ึงเรยี กกนั ว่าพวกเงาะ ในเรอ่ื งแสดงถงึ ความเป็นอยู่ ประเพณี ความเชอื่ รวมถึงภาษา
ซ่ึงเรียกว่า ภาษา ก็อย ด้วย ได้ทรงจัดคําอธิบายเพิ่มไว้ด้วย เหตุท่ีทรงพระราชนิพนธ์เรื่องนี้เนื่องจาก
มผี ถู้ วายเดก็ ชาวซาไก ชอ่ื คนงั ทรงสอบถามเรอ่ื งตา่ งๆ จากคนงั และเมอื่ ทรงประชวรตอ้ งพกั ราชกจิ ๘ วนั
จึงทรงพระราชนพิ นธ์เรอ่ื งน้ขี ้นึ และทรงพระราชนิพนธค์ ํานาํ ไวว้ ่า “หนังสือทแี่ หง่ นไ้ี มไ่ ดต้ ัง้ ใจสําหรับเลน่
ละคร” แต่เมื่อมีการนําเร่ืองน้ีมาแสดงก็เป็นท่ีชื่มชมโดยทั่วกัน เพราะบทเพลงไพเราะ การร่ายรําเข้ากับ
บทเพลงเปน็ อย่างดี
นอกจากบทละครใน บทละครนอกแล้ว ยังมีละครท่เี รียกวา่ ละครดึกดาํ บรรพ์ เป็นละครท่ีเกิดขึน้
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มุ่งใช้ในการแสดงโดยเฉพาะท่ีมาของละครดึกดําบรรพ์
นน้ั เนอ่ื งจากเจา้ พระยาเทเวศรวงศว์ วิ ฒั น์ (ม.ร.ว.หลาน กญุ ชร) เปน็ อธบิ ดกี รมมหรสพ เปน็ ผมู้ คี ณะละคร
และโรงละครของท่านเอง ทา่ นได้ไปยโุ รปในปี ๒๕๓๔ ได้ดลู ะครโอเปร่า กต็ ดิ ใจกลับมาเลา่ ถวายสมเด็จ-
เจา้ ฟา้ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ จงึ ทรงประพนั ธบ์ ทละครและคดิ วธิ กี ารเลน่ ละครขนึ้ ใหม่ ตดั บทบรรยาย
ฉากและท่าทางออกให้ผู้ดูละครเข้าใจเรื่องจากการแสดงท่าทางของตัวละคร ละครชนิดน้ีตัวละครต้องร้อง
เองด้วย เลยี นแบบละครโอเปร่า ทรงนาํ บทละครเดิมๆ เช่น อเิ หนา สงั ข์ทอง มาปรับปรงุ บทใหม่ ละครนี้
แสดงทโ่ี รงละครของเจา้ พระยาเทเวศร์ ซง่ึ ตง้ั ชอื่ วา่ “โรงละครดกึ ดาํ บรรพ”์ บทละครแบบใหมน่ จี้ งึ เรยี กกนั
ว่า ละครดกึ ดาํ บรรพ์ ตามชอ่ื โรงละครไปดว้ ย