Page 47 - ไทยศึกษา
P. 47

วรรณกรรมไทย ๙-37
ยกั ษช์ อ่ื พาณาสรู เรอ่ื งนมี้ งุ่ แสดงอานภุ าพของพระกฤษณะซงึ่ เปน็ ตาของพระอนริ ทุ ธ์ เปน็ ผปู้ ราบพาณาสรู
เน่อื งจากพานาสรู จับพระอนริ ทุ ธ์ไว้ พระกฤษณะจงึ ต้องมาช่วยหลาน เร่ืองจบลงด้วยความสุข

       สรรพสิทธิคําฉันท์ พระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้
เคา้ เร่ืองจากชาดกอันเป็นเรอ่ื งภาคตอ่ ของเร่ืองนกกระจาบ เป็นเรือ่ งท่ีมีนิทานซอ้ นนิทาน เน้อื เรอ่ื งน่าอ่าน
และลลี าฉนั ทไ์ พเราะเรอื่ งหน่งึ

       สุธนคําฉันท์ สุธนูคําฉันท์ และอุเทนคําฉันท์ ทงั้ ๓ เรอ่ื งเปน็ งานประพนั ธข์ องพระยาอศิ รานภุ าพ
(อน้ ) แตง่ ขน้ึ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สองเรอ่ื งแรกไดเ้ คา้ เรอื่ งจากชาดก สว่ นเรอ่ื ง
อุเทนคําฉันท์ได้เค้าเร่ืองจากพระธรรมบท พระมเหสีของท้าวอุเทนพระองค์หนึ่งคือนางสามาวดี เป็นผู้ที่
นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาอยา่ งมนั่ คง เชอ่ื มน่ั ในความสจุ รติ ของตนไมห่ วนั่ ไหวแมภ้ ยั มาถงึ ตนทงั้ ๓ เรอ่ื งเปน็
คําฉนั ท์ทีไ่ พเราะเช่นกนั

       อิลราชคําฉันท์ เปน็ งานประพนั ธข์ องพระยาศรสี ุนทรโวหาร (ผนั สาลกั ษณ)์ แต่งขน้ึ ในรัชสมยั
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เร่ืองน้ีเป็นคําฉันท์ขนาดส้ันมีเน้ือเรื่องท่ีแปลก คือ ท้าวอิลราช
เสดจ็ ประพาสปา่ พรอ้ มดว้ ยกองทพั เดนิ ทางหลงเขา้ ไปในบรเิ วณทพ่ี ระศวิ ะกาํ ลงั ทรงเยา้ หยอกพระอมุ าดว้ ย
การแปลงพระองคเ์ ปน็ สตรี เปน็ ผลใหส้ ง่ิ มชี วี ติ ในอาณาบรเิ วณนน้ั กลายเพศเปน็ หญงิ ไปทง้ั หมด ทา้ วอลิ ราช
จึงกลายเพศเป็นนางอิลา ส่วนทหารบริวารก็กลายเพศเป็นสตรีไปทั้งกองทัพ พระอุมาสงสารจึงช่วยด้วย
การสาปให้ท้าวอิลราชเป็นหญิงสลับชายครั้งละเดือนและให้ลืมเหตุการณ์ท้ังหมด นางอิลาไปพบพระพุธ
และเปน็ ชายาของพระพธุ ตอ่ มาทา้ วอลิ ราชไดท้ าํ พธิ อี ศั วเมธถวายพรพระศวิ ะเพอ่ื ขอพรใหพ้ น้ คาํ สาป เรอ่ื ง
จบลงด้วยการทีพ่ ระศวิ ะประทานพรใหน้ างอลิ ากลับเป็นท้าวอิลราชดังเดิม

       สามัคคีเภทคําฉันท์ เป็นบทประพันธ์ของนายชิต บุรทัต กวีผู้มีช่ือเสียงในการประพันธ์ฉันท์
แต่งข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นเรื่องสั้นๆ เช่นเดียวกัน แสดงโทษของการ
แตกสามัคคี เรอ่ื งน้เี ป็นฉนั ทท์ มี่ ีลลี าจังหวะไพเราะอย่างยิ่ง

๓. 	ประเภทกาพย์

       กาพย์พระไชยสุริยา เป็นงานประพันธ์ของสุนทรภู่ เป็นเรื่องท่ีแสดงความสามารถในเชิงการ
ประพนั ธอ์ ยา่ งยง่ิ กลา่ วคอื กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ านใี้ ชเ้ ปน็ บทหดั อา่ นของเดก็ ทเ่ี รมิ่ เรยี นภาษาไทย ถอ้ ยคาํ ที่
นํามาใชใ้ นการประพนั ธจ์ งึ ถูกกาํ หนดด้วยกล่มุ คําทต่ี ้องจดั เพื่อการฝึกหดั อา่ นโดยเฉพาะ นนั่ คอื ต้องเร่มิ ใช้
คาํ ตงั้ แต่ แม่ ก กา แม่กง แม่กก กด กน กม เกย เรียงลาํ ดบั มาตรากันไปทีละมาตรา ตวั สะกดมาตราใด
เรียนแล้วก็สามารถนาํ คาํ ไปแต่งรวมในมาตราตอ่ ไปได้

       แมจ้ ะจาํ กดั คาํ ทใี่ ช้ สนุ ทรภกู่ ส็ ามารถประพนั ธเ์ ปน็ เรอ่ื งราวไดอ้ ยา่ งนา่ อา่ น ขอ้ ทน่ี า่ ชนื่ ชมกค็ อื สนุ ทรภู่
สามารถเขยี นให้อา่ นไดท้ ัง้ เด็กและผูใ้ หญ่ กล่าวคือเด็กๆ กห็ ดั อ่านประสมคําไปตามมาตราตา่ งๆ อ่านแลว้
กเ็ ขา้ ใจเรอ่ื งราวไปแบบนทิ านสนกุ เรอ่ื งหนงึ่ ถา้ ผใู้ หญอ่ า่ นกอ็ าจจะวเิ คราะหท์ คี่ วามเรอ่ื งนใี้ หล้ กึ ซง้ึ ยงิ่ ขนึ้ ได้
เนอ่ื งจากพระไชยสุริยาต้องสละบา้ นเมืองลงเรือหนีไป เพราะบา้ นเมืองเกดิ อาเพศ นำ้� ปา่ หลากมาท่วมจน
อยูไ่ ม่ได้ เน่ืองจากข้าราชการทงั้ หลายและผคู้ นพากนั ทาํ ทจุ ริตตา่ งๆ ในตอนทา้ ยพระไชยสรุ ยิ าก็ไดศ้ กึ ษา
และเข้าใจธรรมะ และรู้ผิดรู้ถูกอย่างถอ่ งแท้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52