Page 46 - ไทยศึกษา
P. 46

๙-36 ไทยศกึ ษา
อารมณ์ความรู้สึกถ่ายทอดสู่ผู้อ่านได้อย่างประทับใจ กวีรุ่นหลังที่มีความสามารถในการประพันธ์ก็ยึดถือ
พระลอเปน็ แบบอยา่ ง ดงั เชน่ การพรรณนาความบางตอนในลลิ ติ ตะเลงพา่ ย ใชก้ ลวธิ เี ชน่ เดยี วกบั ลลิ ติ พระลอ

       ในส่วนสมัยที่แต่ง เดิมเชื่อกันว่าเรื่องน้ีแต่งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ต่อมาได้มีการ
ศึกษากันอย่างละเอียดแล้ว ก็สรุปได้ว่าลิลิตพระลอน่าจะแต่งข้ึนในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น โดยอาศัย
เหตุผลด้านภาษา ประเพณี และฉันทลักษณ์เป็นเกณฑ์ตัดสิน เรื่องพระลอเป็นเร่ืองของความรักท่ีจบลง
ด้วยการส้ินชวี ติ ของตัวละครเอก เนอื้ เรอ่ื งนอกจากความรักของหญงิ ชายแล้ว ยงั มคี วามรักระหวา่ งแมล่ กู
ขา้ กับเจ้า อานุภาพของความรักความหลง ให้แง่คิดเรอื่ งธรรมะและปรัชญา บทร้อยกรองในลิลิตพระลอมี
ความไพเราะออ่ นหวาน บรบิ รู ณด์ ว้ ยสนุ ทรยี ภาพอยา่ งทผี่ ปู้ ระพนั ธอ์ า้ งไวใ้ นเรอื่ งวา่ “ไพเราะเรยี บบรรยาย
เพราะย่งิ เพราะนา” และ “ใครฟงั ย่อมใหลหลงฤาอิม่ ฟงั นา”

       ลลิ ติ เพชรมงกฎุ เปน็ ผลงานของหลวงสรวชิ ติ (หน) แตง่ ขนึ้ ในสมยั กรงุ ธนบรุ ี (ทา่ นผนู้ มี้ ตี าํ แหนง่
เป็นเจ้าพระยาพระคลังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) เน้ือเรื่องได้มาจาก
นทิ านเวตาล เรอ่ื งหนงึ่ ตวั เอกของเรอื่ งคอื พระเพชรมงกฎุ นใ้ี นนทิ านเวตาลบางฉบบั ใชช้ อ่ื วา่ พระวชั รมงกฎุ
มขี อ้ สงั เกตวา่ หลวงสรวชิ ติ ประพนั ธเ์ รอ่ื งนโ้ี ดยอาศยั ลลิ ติ พระลอเปน็ ตน้ แบบ เปน็ ตน้ วา่ การบรรยายรปู โฉม
ของพระเอกคอื พระเพชรมงกฎุ นั้นมีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกบั บทชมโฉมพระลอเปน็ อย่างยง่ิ

       ลลิ ติ นทิ ราชาครติ เปน็ พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดเ้ นอื้ เรอื่ ง
มาจากนิทานอาหรับราตรีในภาคภาษาอังกฤษ เป็นเรื่องที่น่าอ่านมากเร่ืองหน่ึง นอกจากจะมีโวหาร
ร้อยกรองท่ีไพเราะแล้ว เนื้อเร่ืองยังให้ข้อคิดที่เป็นคติในการดําเนินชีวิต ดังตัวอย่างเช่น การใช้ชีวิต
ของตวั ละครเอกในเรอ่ื ง การคบเพอ่ื น ผลของการใช้ชีวิตอย่างสรุ ยุ่ สุรา่ ย เป็นต้น

๒. 	ประเภทคําฉันท์

       เรอื่ งแรกทน่ี า่ จะกลา่ วถงึ คอื เสือโคคําฉันท์ เปน็ งานประพนั ธข์ องพระมหาราชครู ไดเ้ คา้ เรอ่ื งจาก
ปญั ญาสชาดกแสดงใหเ้ หน็ คา่ ของความเปน็ มติ รแทร้ ะหวา่ งลกู เสอื และลกู โค จนกระทง่ั พระฤาษชี บุ ใหเ้ ปน็
มนุษย์ ลูกเสือได้ชื่อวา่ พหลวชิ ัย และลกู โคชือ่ ว่า คาวี ในสมยั อยุธยาตอนปลายและสมยั รตั นโกสนิ ทรไ์ ด้
นาํ เรื่องนม้ี าแต่งเปน็ บทละครนอกใหช้ ่อื ว่าเรอื่ ง คาวี

       สมุทรโฆษคําฉันท์ เป็นเรื่องที่มาจากปัญญาสชาดกเช่นเดียวกัน เร่ืองนี้มีผู้ประพันธ์ถึงสามคน
คอื เรม่ิ ดว้ ยพระมหาราชครู แตง่ ขนึ้ เพอื่ ใชเ้ ปน็ บทพากยห์ นงั ใหญส่ าํ หรบั ใชใ้ นการแสดงฉลองเนอื่ งในวโรกาส
ท่ีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีพระชนมายุครบวัยเบญจเพส พระมหาราชครูแต่งไม่จบ สมเด็จ-
พระนารายณม์ หาราชทรงนพิ นธ์ต่อ เรอ่ื งนีม้ าจบบริบรู ณใ์ นสมยั รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ผูท้ ที่ รงนพิ นธ์
คือสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เน้ือเร่ืองกล่าวถึงพระสมุทรโฆษเสด็จประพาสป่า
เพื่อจบั ชา้ ง เทพารักษป์ ระจาํ ตน้ โพธิ์พาพระองค์ไปอุม้ สมกบั นางพินทุมดี ท้ังสองพระองคไ์ ดอ้ ภิเษกสมรส
ตอ่ มามเี หตุทท่ี ําใหพ้ ลัดพรากกัน เร่ืองจบลงดว้ ยการท่ตี ัวละครไดพ้ บกันอีกและไดอ้ ยู่ร่วมกนั ดว้ ยความสขุ

       อนิรุทธคําฉันท์ เป็นงานประพันธ์ของศรีปราชญ์ ได้เค้าเรื่องมาจากอินเดีย การเร่ิมเรื่องคล้าย
สมทุ รโฆษ คอื มเี ทพอมุ้ สมเชน่ เดยี วกนั แตเ่ ปน็ เทพารกั ษป์ ระจาํ ตน้ ไทรพาพระอนริ ทุ ธไ์ ปพบนางอษุ าธดิ า
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51