Page 41 - ไทยศึกษา
P. 41

วรรณกรรมไทย ๙-31
       วรรณกรรมเชิงประวัตปิ ระเภทบันทกึ ทนี่ ่ากล่าวถงึ อีกอย่างคอื พงศาวดาร เช่น พงศาวดารฉบับ
หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ิ และพงศาวดารฉบบั อน่ื ๆ อกี นอกจากนมี้ พี วกกฎหมายตา่ งๆ เชน่ กฎมณเฑยี รบาล
กฎหมายตราสามดวง วรรณกรรมประเภทบันทึกกลุ่มน้ีช่วยให้ความรู้ความเข้าใจเหตุการณ์บ้านเมือง
วัฒนธรรม ประเพณี พธิ ีกรรม แนวการปกครองในแต่ละสมยั ทีว่ รรณกรรมเหล่าน้ีบันทกึ ไว้
       โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงนิพนธ์ไว้เมื่อ
ครง้ั ดาํ รงพระยศเปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล วรรณกรรมเรอื่ งนแี้ ตง่ ดว้ ยโคลงสสี่ ภุ าพจาํ นวน ๖๙ บท
เปน็ วรรณกรรมบนั ทกึ ขนาดสน้ั บนั ทกึ เรอื่ งการชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ วดั ปา่ โมกข์ เมอื งอา่ งทองเนอ่ื งจาก
น้�ำกดั เซาะตลง่ิ พังเขา้ มาถึงพระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ พระอธกิ ารวัดเกรงพระพทุ ธรูปจะเปน็ อนั ตราย จงึ
กราบบังคมทูลพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระให้ทรงทราบ พระยาราชสงครามอาสาดําเนินการชะลอเคล่ือนย้าย
พระพุทธรูป ซึ่งเป็นพระปฏิมาขนาดใหญ่และยาวสามารถลากไปไว้ที่ใหม่ซ่ึงห่างจากท่ีเดิมประมาณ
๑๐ เสน้ โปรดใหส้ รา้ งวหิ ารขนึ้ ใหม่ บนั ทกึ เรอ่ื งนแ้ี สดงถงึ ความศรทั ธาในพทุ ธศาสนา การรกั ษาปชู นยี วตั ถุ
ใหค้ งทนปลอดภยั ประเดน็ ทสี่ าํ คญั คอื ความปตี ชิ น่ื ชมทชี่ า่ งไทยและคนไทยสามารถเคลอ่ื นยา้ ยวตั ถขุ นาด
ใหญไ่ ดอ้ ย่างนา่ อัศจรรย์
       ปุณโณวาทคําฉันท์ เร่ืองน้ีเป็นวรรณกรรมเร่ืองเดียวในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศที่แต่งด้วยคํา
ประพันธ์ประเภทฉนั ท์ เป็นผลงานของมหานาค วัดท่าทราย เนอื้ เรื่องเกีย่ วกบั ประวัตขิ องพระพทุ ธบาทที่
สระบรุ ี เหตทุ จ่ี ดั วรรณกรรมเรอื่ งนไี้ วใ้ นกลมุ่ วรรณกรรมเชงิ ประวตั ปิ ระเภทบนั ทกึ กเ็ พราะมเี รอื่ งทเ่ี ลา่ ถงึ การ
ท่ีพระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปนมัสการและฉลองสมโภชพระพุทธบาท ซึ่งเป็นการเสด็จท้ังทางชลมารคและ
สถลมารค ผแู้ ตง่ บรรยายเรอ่ื งพระพทุ ธบาทอยา่ งละเอยี ด เรอื่ งนไ้ี ดร้ บั การอา้ งองิ มาก ทงั้ เรอ่ื งพระพทุ ธบาท
และเรื่องของมหรสพตา่ งๆ ที่แสดงในการสมโภชพระพุทธบาท เชน่ ละคร หนุ่ เปน็ ตน้

๒.	วรรณกรรมเชิงประวัติ ประเภทสดุดีเกียรติคุณ

       ในสมยั สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยอ์ นั เปน็ สมยั ทพี่ ระราชาธบิ ดที รงมอี าํ นาจสทิ ธขิ์ าดนนั้ พระมหากษตั รยิ ์
ทรงเปน็ บคุ คลสาํ คญั ยงิ่ ดว้ ยทรงเปน็ หลกั ชยั ของแผน่ ดนิ หากทรงพระปรชี าสามารถกจ็ ะนาํ ความเจรญิ ความ
ผาสุกมาสบู่ า้ นเมืองและราษฎร ในยุคท่ีมีศึกสงคราม พระมหากษัตรยิ ์ทที่ รงเชยี่ วชาญการรบ เม่อื รบชนะ
ศึกย่อมนําความปลืม้ ปตี ิมาสรู่ าษฎร ทําใหบ้ า้ นเมืองมคี วามมั่นคงในยคุ ทบ่ี ้านเมอื งสงบ พระราชกรณยี กจิ
ตา่ งๆ กเ็ ปน็ เรอ่ื งสาํ คญั ในการปกครองบา้ นเมอื งใหเ้ รยี บรอ้ ย ดงั นนั้ วรรณกรรมประเภทนจี้ งึ มมี ากมที ง้ั การ
สดุดีวีรกรรม การชื่นชมในบุญญาธิการและพระปัญญาบารมีในการปกครองบ้านเมือง ดังจะได้กล่าวถึง
วรรณกรรมประเภท นโี้ ดยสงั เขป

       โคลงยวนพ่าย ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง สันนิษฐานกันว่าแต่งสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (พ.ศ.
๒๐๓๔-๒๐๗๒) ใชค้ าํ ประพนั ธร์ า่ ยดน้ั และโคลงดนั้ บาทกญุ ชร คาํ ยวน มคี วามหมายวา่ โยนก ผปู้ ระพนั ธ์
มีวัตถุประสงค์จะสรรเสริญพระเกียรติคุณสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ทรงรบชนะพระเจ้าติโลกราช
เจ้าเมอื งเชยี งใหม่ เนอื้ เรื่องเล่าถงึ พระราชประวัติสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถตง้ั แต่ประสตู ิ การสรู้ บ การ
สรรเสริญพระเกยี รติยศและความจงรักภกั ดีของข้าราชบรพิ าร ในสมยั กอ่ นพน้ื ทีป่ ระเทศไทยไม่ไดร้ วมกัน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46