Page 40 - ไทยศึกษา
P. 40
๙-30 ไทยศึกษา
๑. วรรณกรรมเชิงประวัติประเภทบันทึก
ภาพท่ี ๙.๙ ศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงและศิลาจารึกวดั ศรีชมุ
ศิลาจารึก เป็นบันทึกที่มีคุณค่ามาก ทําให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองสมัย
น้ันๆ ดังเช่น ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ ซึ่งรู้จักกันในนาม ศิลาจารึกพ่อขุนรามคําแหง เนื้อความตอนต้นที่ว่า
ด้วยอักษรไทยและพระประวัติจนครองราชย์ เป็นพระราชนิพนธ์ของพ่อขุนรามคําแหงมหาราช ข้อความ
ต่อมาเปน็ ขอ้ ความทผ่ี อู้ ่ืนประพันธไ์ ว้ กลา่ วถงึ พระราชกรณียกจิ ในการปกครองบา้ นเมอื งใหร้ าษฎรอยเู่ ยน็
เป็นสุข ท�ำให้ได้ทราบถึงอาณาเขตอันกว้างใหญ่ของอาณาจักรสุโขทัย เร่ืองกฎหมาย ความเป็นอยู่ของ
ราษฎรตา่ ง ๆ
ศลิ าจารกึ หลกั นเ้ี ปน็ หลกั ฐานชนิ้ แรกทที่ าํ ใหเ้ รารถู้ งึ การประดษิ ฐอ์ กั ษรไทย ระบบการเขยี นภาษาไทย
ท่ีพ่อขุนรามคําแหงมหาราชทรงกําหนดให้เขียนพยัญชนะและสระไว้ในบรรทัดเดียวกัน น่าเสียดายที่
สมัยต่อมา คนไทยกลับไปใช้ระบบเขียนแบบที่วางสระไว้รอบพยัญชนะ คือมีทั้งอยู่หน้า หลัง บน ล่าง
ตัวพยญั ชนะเปน็ เหตุใหเ้ สียเวลาในการเขยี นการพมิ พ์อยา่ งย่งิ ภาษาในศิลาจารึกเป็นภาษาทเ่ี ข้าใจง่าย
ศลิ าจารกึ อกี หลกั หนง่ึ คอื ศลิ าจารกึ วดั ศรชี มุ ศลิ าจารกึ หลกั นไ้ี ดเ้ ปลย่ี นระบบวธิ เี ขยี นจากหลกั ที่ ๑
ดั่งได้กล่าวแล้ว มีรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย ลักษณะของเมืองต่างๆ มี
เจา้ เมอื งปกครองและตา่ งเปน็ อสิ ระตอ่ กนั รายละเอยี ดทน่ี า่ สนใจอกี อยา่ งหนง่ึ คอื ผแู้ ตง่ จารกึ นคี้ อื “พระมหา-
เถรศรศี รทั ธา” มศี กั ดเิ์ ปน็ พระญาตกิ บั พอ่ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช ทา่ นไดเ้ คยไปลงั กาและศกึ ษาพทุ ธศาสนา
อยู่ท่ีลังกาหลายปี กลับมาอยู่สุโขทัยในสมัยท่ีพระมหาธรรมราชาลิไทเป็นกษัตริย์ แสดงให้เห็นว่าในสมัย
สุโขทัยได้มีการศกึ ษาพระพุทธศาสนาอย่างลกึ ซงึ้ จริงจงั