Page 36 - ไทยศึกษา
P. 36
๙-26 ไทยศกึ ษา
เรื่องที่ ๙.๒.๒
วรรณกรรมเกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม
วรรณกรรมที่เก่ียวกับประเพณแี ละพิธกี รรม เป็นวรรณกรรมทส่ี ะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมความเช่ือ
แนวปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ทก่ี ระทาํ เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคต์ ามตอ้ งการ เชน่ ตอ้ งการความมน่ั คง มน่ั ใจ ตอ้ งการ
ความเปน็ สิริมงคล วรรณกรรมประเภทน้ีจึงสร้างขึน้ เพอื่ ใชใ้ นกจิ กรรมทมี่ ีการประกอบพิธซี ่ึงมขี ั้นตอนและ
สง่ิ ประกอบตา่ งๆ ทส่ี รา้ งบรรยากาศของความขลงั ความศกั ดสิ์ ทิ ธจิ์ งู ใจใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มพธิ บี งั เกดิ ความเชอ่ื ความ
ยําเกรง ม่งุ ปฏิบัตติ ามทเี่ ช่อื กนั ว่าเปน็ ส่ิงที่ถูกต้อง
ลิลิตโองการแช่งน้�ำ เป็นวรรณกรรมเร่ืองเดียวในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดี (พระเจ้าอู่ทอง)
ปฐมกษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา ลลิ ติ โองการแชง่ นำ�้ ประกอบดว้ ยคาํ ประพนั ธร์ า่ ยและโคลงหา้ สนั นษิ ฐานกนั วา่
น่าจะเป็นงานประพันธ์ของพราหมณ์ผู้ประกอบพิธีถือน�้ำพิพัฒน์สัตยา อันเป็นพิธีท่ีกําหนดให้ข้าราชการ
ทกุ ฝา่ ยรวมทงั้ เจา้ เมอื งตา่ งๆ มาเขา้ พธิ เี พอื่ สาบานตนวา่ จะซอื่ สตั ยต์ อ่ พระมหากษตั รยิ ์ ผเู้ ขา้ รว่ มพธิ จี ะตอ้ ง
ดื่มน้�ำที่ผ่านการทําพิธีแล้ว พิธีน้ีเป็นพิธีที่กระทําขึ้นเพ่ือสร้างศรัทธาในพระมหากษัตริย์ กษัตริย์ผู้ครอง
เมอื งในสมยั อยุธยา มีลกั ษณะท่ตี า่ งจากสมยั สุโขทัย สมัยสุโขทัยกษตั ริย์เปรียบเสมือนพอ่ ของราษฎร แต่
สมัยอยุธยากษัตริย์เปรียบเป็นสมมติเทพ การทําพิธีถือน้�ำก็เพื่อป้องกันมิให้ข้าราชบริพารเอาใจออกห่าง
หรอื ทรยศ
ภาษาในลิลิตโองการแช่งน�้ำเป็นภาษารุ่นเก่า ค่อนข้างเข้าใจยาก เน้ือเร่ืองเริ่มด้วยบทสรรเสริญ
พระผ้เู ปน็ เจา้ ในศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ พระอศิ วร พระนารายณ์ และพระพรหม ตอ่ จากนัน้ จึงกลา่ วถึง
ไฟไหมโ้ ลก เมอื่ สน้ิ กลั ปม์ โี ลกเกดิ ขนึ้ ใหม่ เทวดาไดก้ ลนิ่ หอมของงว้ นดนิ จงึ พากนั ลงมากนิ เลยกลบั สวรรค์
ไม่ได้ สืบเผ่าพันธเุ์ ปน็ มนุษยส์ ืบมา มีหัวหน้าเปน็ กษัตรยิ ์ ตอ่ จากนนั้ อัญเชญิ เทวดา ภตู ผปี ศี าจตา่ งๆ ให้
มาเปน็ พยาน ลงโทษผูค้ ดิ ทรยศต่อกษตั รยิ ์ มีบทลงโทษให้ตกนรกถูกทรมานต่างๆ ถกู สาปแชง่ ใหถ้ งึ ตาย
สว่ นผทู้ จี่ งรกั ภกั ดตี อ่ กษตั รยิ ์ จะไดร้ บั พรใหอ้ ายยุ นื มคี วามสขุ ไดล้ าภยศตา่ งๆ ลลิ ติ โองการแชง่ นำ้� นแี้ ตง่ ขน้ึ
เพ่ือให้พราหมณ์ใช้อ่านในพิธีถือน�้ำดังกล่าว เป็นพิธีท่ีขรึมขลัง ดูศักด์ิสิทธิ์สร้างบรรยากาศท่ีน่ากลัวแก่
ผเู้ ข้าพธิ ี
รายละเอียดในโองการแช่งน้�ำทําให้เห็นถึงการได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมต่างประเทศคือขอมและ
อนิ เดยี รวมทงั้ ความเชอ่ื บางประการเกย่ี วแกพ่ ระผเู้ ปน็ เจา้ ในศาสนาพราหมณด์ ว้ ย นา่ สงั เกตวา่ ในโองการ
แช่งน้�ำนี้ นอกจากจะอ้างพระผู้เป็นเจ้าต่างๆ แล้วยังอ้างภูตผีปีศาจซ่ึงเป็นความเชื่อด้ังเดิมของคนไทยไว้
ด้วย
คาํ ฉนั ทด์ ษุ ฎสี งั เวยกลอ่ มชา้ ง คาํ ฉนั ทด์ ษุ ฎสี งั เวยกลอ่ มชา้ งเปน็ วรรณกรรมทแี่ ตง่ ขนึ้ ในสมยั สมเดจ็
พระนารายณม์ หาราชเพอ่ื ใชใ้ นพธิ สี มโภชชา้ งสาํ คญั ผปู้ ระพนั ธค์ อื ขนุ เทพกวี โดยปกตเิ ชอ่ื กนั วา่ หากมกี าร
พบช้างเผือกขน้ึ ในสมัยใดก็ถอื เป็นชา้ งคู่พระบารมีของพระมหากษัตริยใ์ นสมยั นนั้ ช้างเผอื กเกดิ มีขน้ึ ด้วย
บญุ ญาธกิ ารของกษตั รยิ ์ ประเพณกี ารกลอ่ มชา้ งนา่ จะไดม้ าจากขอมซง่ึ รบั สบื ทอดจากอนิ เดยี มาอกี ตอ่ หนงึ่