Page 31 - ไทยศึกษา
P. 31
วรรณกรรมไทย ๙-21
คณุ คา่ พเิ ศษอกี ประการหนงึ่ ของไตรภมู กิ ค็ อื เปน็ วรรณกรรมทเ่ี ปน็ แหลง่ ความรเู้ รอื่ งราวตา่ งๆ ใน
วรรณคดี เชน่ เรอ่ื งจกั รพรรดิ นางแกว้ ปา่ หมิ พานต์ เขาพระสเุ มรุ ครฑุ นาค ราชสหี ์ ฯลฯ ความรเู้ หลา่ น้ี
ชว่ ยให้อา่ นวรรณกรรมเรือ่ งอื่นๆ ในสมัยหลังได้เข้าใจแจ่มแจ้งขึน้
ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดใหพ้ ระยาธรรมปรชี า
(แกว้ ) แตง่ ไตรภมู โิ ลกวนิ จิ ฉยั มคี วามละเอยี ดพสิ ดารขน้ึ เปน็ เรอื่ งทำ� นองเดยี วกนั แตไ่ มไ่ ดร้ บั ความนยิ ม
เท่าไตรภมู ิพระร่วง
มหาชาติค�ำหลวง เปน็ วรรณกรรมทแ่ี ปลมาจากวรรณคดศี าสนาในภาษาบาลี มหาชาติ หมายถงึ
ชาตอิ นั ยิ่งใหญ่ คือพระชาตสิ ดุ ท้ายของพระโพธสิ ตั ว์ ซึ่งเปน็ เร่อื งชาดกท่รี จู้ กั กันดคี อื พระเวสสันดรชาดก
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดให้นักปราชญ์ร่วมกันแปลเป็นภาษาไทยแล้วเรียบเรียงเป็นบทร้อยกรอง
หลายชนิด เรยี กวา่ มหาชาติค�ำหลวง ใน พ.ศ. ๒๐๒๕ เพ่อื นำ� มาเทศน์ให้ประชาชนไดเ้ ข้าใจถึงการบำ� เพญ็
บารมีของพระโพธสิ ัตว์ เปน็ เรื่องราวทม่ี คี ตสิ อนใจหลายประการดว้ ยกัน
ภาพท่ี ๙.๕ มหาชาตคิ ำ� หลวง
ชาดกท่ีเรียกกันว่ามหาชาติน้ีได้รับความนิยมมาก ในสมัยพระเจ้าทรงธรรมได้มีการน�ำเรื่อง
มหาชาติมาประพันธ์ข้ึนใหม่เรียกว่า กาพย์มหาชาติ ประพันธ์ด้วยค�ำประพันธ์ชนิดร่ายยาว ผู้ประพันธ์
ประพนั ธด์ ว้ ยวธิ เี รยี บเรยี งใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยขน้ึ คอื ใชว้ ธิ ยี กภาษาบาลขี นึ้ กอ่ น แลว้ แปลเปน็ ขอ้ ความยาวตอ่ เนอ่ื ง
กันไป และขยายความเพม่ิ เติมจากเน้อื เรอื่ งเดิม ทำ� ให้เรื่องน้เี ข้าใจงา่ ยข้ึน
เรอื่ งมหาชาตนิ เ้ี ปน็ ทนี่ ยิ มมาก จงึ มกี ารประพนั ธข์ นึ้ ใหมอ่ กี หลายฉบบั ดว้ ยกนั ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์
ส่วนใหญ่ประพันธ์ด้วยร่ายยาว มีกวีท่ีส�ำคัญหลายท่านประพันธ์ขึ้น เช่น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เจ้าพระยาพระคลัง (หน) เป็นต้น ฉบับท่ีอ่านกันมากในปัจจุบันเป็นฉบับท่ี