Page 27 - ไทยศึกษา
P. 27

วรรณกรรมไทย ๙-17
เชน่ เดยี วกบั วรรณกรรมประเภทนทิ านรอ้ ยกรอง แตท่ แ่ี ยกประเภทไวเ้ นอ่ื งจากวรรณกรรมกลมุ่ นเี้ กย่ี วขอ้ ง
กับการแสดงละครด้วย

       ๒.๖		 วรรณกรรมนิราศ นิราศเป็นวรรณกรรมร้อยกรองทมี่ งุ่ แสดงอารมณ์ และความรสู้ กึ ของกวี
นิราศส่วนใหญ่เป็นเร่ืองราวท่ีบันทึกการเดินทางของกวีเม่ือต้องจากบ้าน จากสตรีอันเป็นท่ีรัก และนิราศ
บางเรื่องที่ไม่มีการเดินทางก็จะใช้โวหารแสดงอารมณ์ความรู้สึกแบบเดียวกัน

       วรรณกรรมทงั้ ๓ ประเภทนเ้ี ปน็ วรรณกรรมทม่ี งุ่ ใหเ้ กดิ ความบนั เทงิ ใจใหค้ วามสำ� เรงิ อารมณแ์ กผ่ ู้
อ่านจงึ อาจจดั ประเภทรวมๆ กันไดว้ ่าเป็น วรรณกรรมแนวจรรโลงใจ

       ๒.๗ 	วรรณกรรมปัจจุบัน การแบง่ ประเภทวรรณกรรมไทยเปน็ วรรณกรรมปจั จบุ นั สว่ นใหญเ่ ปน็
วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลตะวันตก นักวรรณกรรมส่วนใหญ่จะเริ่มจัดวรรณกรรมปัจจุบันในสมัยรัชกาล
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมายถึงวรรณกรรมท่ีเริ่มได้รับอิทธิพลตะวันตก จัดเป็น
พวกร้อยแก้วแนวใหม่ วรรณกรรมปัจจุบันแยกได้เป็นประเภทบันเทิงคดี คือเรื่องแต่ง เร่ืองเล่า เร่ืองส้ัน
นวนยิ าย อันเป็นรปู แบบใหมข่ องวรรณกรรมท่ีรับมาจากตะวนั ตกกบั ประเภทย่อยอีกอย่างหน่ึงคอื สารคดี
เปน็ เรอ่ื งจรงิ เรอื่ งทเี่ ปน็ ขอ้ คดิ เหน็ ตา่ งๆ ในทางตะวนั ตกยงั มี บทละคร อกี ดว้ ย เนอ่ื งจากถอื วา่ ตา่ งประเทศ
กบั บนั เทิงคดีและสารคดี

       เอกสารการสอนหน่วยนี้จะแบ่งวรรณกรรมโดยอาศัยเน้ือหาเป็นหลัก เพื่อให้เห็นประโยชน์และ
คณุ คา่ ของวรรณกรรมแตล่ ะประเภททชี่ ดั เจน แมจ้ ะอธบิ ายวรรณกรรมโดยอาศยั เนอื้ หาเปน็ หลกั สำ� คญั แต่
กต็ ้องระบลุ กั ษณะท่เี ปน็ การประพนั ธข์ องวรรณกรรมนนั้ ๆ ด้วย

กิจกรรม ๙.๑.๓
       ๑. 	จงสรปุ การแบง่ ประเภทของวรรณกรรมไทยโดยอาศยั เนอ้ื หาเป็นหลกั
       ๒.	 การแบ่งประเภทของวรรณกรรมมีประโยชน์อย่างไร และเหตุใดเราจึงไม่อาจแบ่งประเภท

วรรณกรรมใหต้ า่ งกนั โดยเด็ดขาดได้
แนวตอบกิจกรรม ๙.๑.๓

       ๑. 	ประเภทของวรรณกรรมแบง่ โดยอาศัยเน้อื หา แบ่งได้ดงั น้ี
            ๑)		 เนอื้ หาแนวจรรโลงสงั คม แบ่งย่อยๆ เปน็
                (๑)		วรรณกรรมศาสนาและค�ำสอน มีเนื้อหาด้านศาสนาพุทธ และค�ำสอนท่ีมุ่งให้มี

ความประพฤตเิ ป็นทพี่ ึงประสงคข์ องสงั คม
                (๒)	 วรรณกรรมเกยี่ วกบั ประเพณีและพิธีกรรม เปน็ วรรณกรรมท่ใี ช้ประกอบพิธีหรอื

อธบิ ายความรูเ้ รือ่ งพิธตี ่างๆ
                (๓)	 วรรณกรรมเชงิ ประวตั ิ หมายถงึ วรรณกรรมทบี่ นั ทกึ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ตา่ งๆ หรอื

บนั ทึกเรอ่ื งราวของวรรณกรรมบุคคลส�ำคัญ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32