Page 23 - ไทยศึกษา
P. 23
วรรณกรรมไทย ๙-13
๔. การศึกษาของทวยราษฎร์
แตเ่ ดมิ มาคนท่ี “รู้หนังสือ” มแี ตช่ นช้ันสูง คอื พระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศ์ ขุนนาง และพระ
เทา่ นนั้ บคุ คลเหลา่ นม้ี โี อกาสไดเ้ รยี นเขยี นอา่ น สำ� หรบั คนสามญั หากอยากจะเรยี นรตู้ อ้ งเรยี นจากพระในวดั
ดงั น้นั ผู้หญิงจงึ ไม่มโี อกาสไดเ้ รยี น ยกเวน้ ผู้หญิงทกี่ ำ� เนิดในครอบครวั ชนช้ันสูง คือ เป็นพระราชวงศ์หรือ
เป็นลูกขุนนาง ดังนั้นในยุคแรกๆ ผู้สร้างวรรณกรรมและผู้อ่านจึงจ�ำกัดอยู่ในหมู่ผู้รู้ในวงแคบๆ เท่าน้ัน
ประชาชนคนสามัญไมค่ ่อยมีโอกาสท่จี ะได้อ่านหรือประพันธ์วรรณกรรม เนือ่ งจากข้อจำ� กดั ด้านความรู้
สมยั หลงั ประชาชนไดร้ บั การศกึ ษามากขนึ้ ประกอบกบั การพมิ พเ์ กดิ ขน้ึ จงึ เรมิ่ มนี กั อา่ นนกั เขยี น
สามัญชนเกดิ ขน้ึ รัฐเริม่ ให้มีพระราชบญั ญตั ปิ ระถมศึกษาในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั
และประสบความส�ำเร็จใช้บังคับทั่วประเทศในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การศึกษาของ
ทวยราษฎร์จึงมผี ลตอ่ วรรณกรรม ทั้งในดา้ นผ้สู รา้ งและผู้เสพ
๕. อิทธิพลจากต่างประเทศ
เดิมวรรณกรรมไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย โดยเฉพาะศาสนาพุทธท�ำให้เกิดวรรณกรรม
พุทธศาสนาและภาษาบาลีเข้ามาในภาษาไทย ขณะเดียวกันก็มีศาสนาพราหมณ์เข้ามาด้วย ท�ำให้
ภาษาสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย เกิดการยืมค�ำบาลีสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทย วรรณคดีสมัย
อยุธยาจึงมคี �ำบาลสี นั สกฤตปะปนอยู่มาก สว่ นศิลาจารกึ สมยั สโุ ขทยั มีคำ� บาลีสนั สกฤตนอ้ ย
อทิ ธพิ ลจากตา่ งประเทศกอ่ ใหเ้ กดิ วรรณกรรมแปลขนึ้ ดงั เชน่ ในสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ
โปรดฯ ใหแ้ ปลและเรยี บเรยี ง มหาชาตคิ �ำหลวง สมยั รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
มกี ารแปลเรอ่ื ง สามกก๊ จากภาษาจนี และแปลพงศาวดารมอญเรอ่ื ง ราชาธริ าช ในรชั สมยั ตอ่ ๆ มากม็ กี าร
แปลเร่ืองจีนเพิ่มมากข้ึน เร่ืองแปลจีนเป็นท่ีนิยมกันมากต้ังแต่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ต่อมามีการแปล
วรรณกรรมจากภาษาต่างๆ ทางตะวนั ตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแปลจากภาษาอังกฤษ
ภาพที่ ๙.๔ สามกก๊ และราชาธิราช วรรณกรรมแปลในยุคแรก